Show simple item record

The development of tool for diagnostic and monitoring patients with Parkinson's disease

dc.contributor.authorรุ่งโรจน์ พิทยศิริth_TH
dc.contributor.authorอรอนงค์ จิตรกฤษฏากุลth_TH
dc.contributor.authorจิรดา ศรีเงินth_TH
dc.contributor.authorชูศักดิ์ ธนวัฒโนth_TH
dc.date.accessioned2018-05-22T06:59:04Z
dc.date.available2018-05-22T06:59:04Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.otherhs2415
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/4890
dc.description.abstractจุดประสงค์เพื่อศึกษาแบบแผนของอาการสั่นในผู้ป่วยโรคพาร์กินสันเพื่อนำมาใช้ในการวินิจฉัยแยกโรคจากภาวะอื่น และศึกษาค่าพารามิเตอร์ต่างๆ ที่วัดได้จากเครื่องตรวจวัดและวิเคราะห์อาการสั่น เพื่อนำมาใช้ทดแทนการให้คะแนนอาการสั่นในการประเมินทางคลินิกโดยใช้ Unified Parkinson's Disease Rating Scale (UPDRS) และสร้างระบบการเก็บข้อมูลการสั่นของผู้ป่วยพาร์กินสันและผู้ป่วยในกลุ่มการเคลื่อนไหวผิดปกติ ด้วยระบบสื่อสารอินเตอร์เน็ต โดยข้อมูลจะถูกเก็บในระบบเครือข่ายก้อนเมฆ วิธีดำเนินการวิจัย การดำเนินงานวิจัย แบ่งออกเป็น 2 ระยะ 1) การคิดค้นและพัฒนาเซ็นเซอร์ทางห้องปฏิบัติการให้ประสิทธิภาพและความปลอดภัยเพียงพอในการนำมาทดสอบการใช้งานได้จริงกับผู้ป่วย ระบบประกอบด้วย 2 ส่วน ได้แก่ อุปกรณ์วัดการสั่น ชุดซอฟต์แวร์วิเคราะห์สัญญาณการสั่น และชุดรับข้อมูลการวาดรูปก้นหอย (spiral drawing) และวิเคราะห์การสั่นจากรูปวาดก้นหอย 2) คัดเลือกผู้ป่วยที่มารับการตรวจรักษาที่คลินิกพาร์กินสันและกลุ่มโรคความเคลื่อนไหวผิดปกติ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ โดยมีคุณสมบัติตามเกณฑ์การคัดเข้าและไม่เป็นไปตามเกณฑ์การคัดออก จำนวน 100 ราย ทดสอบการใช้เครื่องมือวัดอาการสั่น และผลิตอุปกรณ์วัดการสั่น ชุดซอฟต์แวร์วิเคราะห์สัญญาณการสั่น จำนวน 40 เครื่อง สำหรับทดลองใช้ในโรงพยาบาลอย่างน้อย 20 แห่ง ผลการดำเนินการวิจัย ผู้วิจัยได้ดำเนินการศึกษาวิจัยระยะที่ 1 มีค้นคว้าและออกแบบพัฒนาเครื่องมือในการตรวจวัดและอาการสั่น ประกอบด้วย 2 ส่วนหลัก คือ 1. ฮาร์ดแวร์ (Hardware) ชุดรับสัญญาณการเคลื่อนที่เชิงเส้นและเชิงมุม ทั้ง 6 แนวแกน 2. ซอฟต์แวร์ (Software) ชุดวิเคราะห์และแสดงผลสัญญาณในเชิงเวลา ความถี่และคำนวณค่าพารามิเตอร์ต่างๆ สามารถบันทึกข้อมูลผ่าน คอมพิวเตอร์ หรือโทรศัพท์ ระบบปฏิบัติการ android ได้ มีการรูปแบบลักษณะของเครื่องวัดอาการสั่นที่ทันสมัย sensor board มีขนาดเล็กลง ออกแบบให้เป็นในรูปแบบนาฬิกาข้อมือ และต่อยอดให้สามารถวัดอัตราการเต้นของชีพจร ตั้งเวลาในการวัดได้ได้ ส่วนการส่งสัญญาณสามารถผ่านระบบ bluebooth เพื่อนำข้อมูลไปวิเคราะห์ได้ทั้งใน Computer PC, notebook และมือถือระบบปฏิบัติการ Android ได้ และพัฒนาการ software ในการส่งสัญญาณให้มีความเสถียรมากขึ้น และลดความคลาดเคลื่อนของการส่งสัญญาณ สรุปผล ในพัฒนาเครื่องตรวจวิเคราะห์อาการสั่น ระยะที่ 1 และ 2 มีการเน้นการใช้งานได้จริงของเครื่องมือทางการแพทย์ มีการเก็บข้อมูลจากผู้ใช้งานจริง จึงมีการพัฒนาต่อยอดของการออกแบบผลิตภัณฑ์ โดยคำนึงถึงการใช้ประโยชน์ ความสวยงาม ความปลอดภัย และเป็นเทคโนโลยีที่ทันสมัยมากยิ่งขึ้นth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectParkinson Diseaseth_TH
dc.subjectโรคพาร์กินสันth_TH
dc.subjectผลิตภัณฑ์ วัคซีน และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Medical Products, Vaccines and Technologies)th_TH
dc.titleการพัฒนาเครื่องมือช่วยวินิจฉัย คัดกรองและการติดตามการรักษาผู้ป่วยโรคพาร์กินสัน ปีที่ 1th_TH
dc.title.alternativeThe development of tool for diagnostic and monitoring patients with Parkinson's diseaseth_TH
dc.typeTechnical Reportth_TH
dc.description.abstractalternativePurpose: To study pattern of tremor symptoms in Parkinson’s disease patient for differential diagnosis from other symptoms, including related movement disorder and study measure parameters of tremor and create the system to collect the data with wireless internet. Method: This study particularize 2 periods 1) To develop assisted device for detect tremor symptoms, including tremor assessment device with tremor analysis software and spiral drawing 2) To enroll population who have tremor symptom 100 sample and manufacture 40 device give to 20 hospital for test this device. Results: This study during in period 1, to design and develop tremor device for diagnostic and monitoring patients with Parkinson's disease. This device include hardware that can detect accelerometer 3 axial and gyroscope 3 axial and tremor analysis software that show angular rate, angular rms, peak rate, peak frequency and other parameters and can save the data by notebook or android technology. Tremor device was designed modern form, small sensor board as a wristwatch and can take pulse rate. This device can set time to test. In part of the signal made stably and reduce to send error signal. Conclusion: In the part of develop tremor device in episode1 and 2 focus on practical use of medical device, that save the data from user and have to design with regard to available use in daily, safety , smart and technology is more modern.th_TH
dc.identifier.callnoWL359 ร636ก 2560
dc.identifier.contactno59-012
.custom.citationรุ่งโรจน์ พิทยศิริ, อรอนงค์ จิตรกฤษฏากุล, จิรดา ศรีเงิน and ชูศักดิ์ ธนวัฒโน. "การพัฒนาเครื่องมือช่วยวินิจฉัย คัดกรองและการติดตามการรักษาผู้ป่วยโรคพาร์กินสัน ปีที่ 1." 2560. <a href="http://hdl.handle.net/11228/4890">http://hdl.handle.net/11228/4890</a>.
.custom.total_download132
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month1
.custom.downloaded_this_year14
.custom.downloaded_fiscal_year3

Fulltext
Icon
Name: hs2415.pdf
Size: 3.032Mb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record