dc.contributor.author | ศิริวรรณ ตั้งจิตกมล | th_TH |
dc.contributor.author | Siriwan Tangjitgamol | en_EN |
dc.contributor.author | วิชาญ หล่อวิทยา | th_TH |
dc.contributor.author | Vichan Lordvithaya | en_EN |
dc.contributor.author | คณิศา รองศรีแย้ม | th_TH |
dc.contributor.author | Kanisa Rongsriyam | en_EN |
dc.contributor.author | จักรพันธ์ ขุนณรงค์ | th_TH |
dc.contributor.author | Jakkapan Khunnarong | en_EN |
dc.contributor.author | สุนำโชค ศรีใจพระเจริญ | th_TH |
dc.contributor.author | Sunamchok Srijaipracharoen | en_EN |
dc.contributor.author | บุษบา ศุภวัฒน์ธนบดี | th_TH |
dc.contributor.author | Busaba Supawattanabodee | en_EN |
dc.contributor.author | กันยารัตน์ กตัญญู | th_TH |
dc.contributor.author | Kanyarat Katanyoo | en_EN |
dc.contributor.author | จตุพล ศรีสมบูรณ์ | th_TH |
dc.contributor.author | Jatupol Srisomboon | en_EN |
dc.contributor.author | เอกสิทธ์ ธราวิจิตรกุล | th_TH |
dc.contributor.author | Ekkasit Tharavijitkul | en_EN |
dc.contributor.author | ดวงใจ แสงถวัลย์ | th_TH |
dc.contributor.author | Duangjai Sangthawan | en_EN |
dc.contributor.author | ธิติ อัจจิมากุล | th_TH |
dc.contributor.author | Thiti Atjimakul | en_EN |
dc.contributor.author | ประเสริฐ เลิศสงวนสินชัย | th_TH |
dc.contributor.author | Prasert Lertsanguansinchai | en_EN |
dc.contributor.author | ปิยะวรรณ ปริยวาทีกุล | th_TH |
dc.contributor.author | Piyawan Pariyawateekul | en_EN |
dc.contributor.author | อภิรดี กฤดากร | th_TH |
dc.contributor.author | Apiradee Kridakara | en_EN |
dc.contributor.author | ช่อแก้ว โตวณะบุตร | th_TH |
dc.contributor.author | Chokaew Tovanabutra | en_EN |
dc.contributor.author | จิรศักดิ์ สุขาบูรณ์ | th_TH |
dc.contributor.author | Jirasak Sukhaboon | en_EN |
dc.contributor.author | ทัศน์วรรณ อาษากิจ | th_TH |
dc.contributor.author | Tussawan Asakit | en_EN |
dc.contributor.author | Kannika Paengchit | en_EN |
dc.contributor.author | สมคิด เพ็ญพัธนกุล | th_TH |
dc.contributor.author | Somkit Penpattanagul | en_EN |
dc.contributor.author | สิเรนทรา หวังลิขิตกูล | th_TH |
dc.contributor.author | Sirentra Wanglikitkoon | en_EN |
dc.contributor.author | เทวินทร์ โชติธนประสิทธิ์ | th_TH |
dc.contributor.author | Taywin Chottetanaprasith | en_EN |
dc.contributor.author | Prapai Tanprasert | en_EN |
dc.contributor.author | วรรณวิภา จันทร์วีระชัย | th_TH |
dc.contributor.author | Wanwipa Janweerachai | en_EN |
dc.contributor.author | ยศ ตีระวัฒนานนท์ | th_TH |
dc.contributor.author | Yot Teerawattananon | en_EN |
dc.contributor.author | จิตติ หาญประเสริฐพงษ์ | th_TH |
dc.contributor.author | Jitti Hanprasertpong | en_EN |
dc.contributor.author | กาลนิการ์ แปงจิตร์ | th_TH |
dc.contributor.author | ประไพ ตันประเสริฐ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2018-08-02T06:29:49Z | |
dc.date.available | 2018-08-02T06:29:49Z | |
dc.date.issued | 2561 | |
dc.identifier.other | hs2432 | |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/4920 | |
dc.description.abstract | มะเร็งปากมดลูกยังเป็นปัญหาที่สำคัญในประเทศไทย อัตราการเสียชีวิตสูงเนื่องจากมักพบโรคอยู่ในระยะลุกลาม การรักษามาตรฐานสำหรับระยะลุกลามเฉพาะที่ (locally advanced cervical cancer) ซึ่งรวมตั้งแต่ระยะ 2 บี ถึงระยะ 4 เอ คือ การฉายแสงร่วมกับการให้ยาเคมีบำบัด แต่การรักษานี้ยังไม่ได้ผลดีนักโดยประมาณ 1 ใน 3 ของผู้ป่วยมีการคงอยู่ของโรคและกลับเป็นซ้ำหรือมีการแพร่กระจายไปยังอวัยวะอื่นนอกอุ้งเชิงกรานหลังการรักษาเสร็จแล้วสูง โดยมีผู้ป่วยเพียงร้อยละ 60 เท่านั้นที่จะมีโอกาสอยู่รอดถึง 5 ปี จึงทำการศึกษาโดยการให้ยาเคมีบำบัดเพิ่มเติมหลังจากการรักษามาตรฐาน วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาอัตราการตอบสนองต่อการรักษา อัตรารอดชีวิต โดยปราศจากโรคดำเนินต่อ และอัตรารอดชีวิต โดยรวมของผู้ป่วยที่ 3 ปี อัตราการเกิดผลข้างเคียง และต้นทุนอรรถประโยชน์ (cost-utility analysis) ของผู้ป่วยที่ได้รับการรักษามาตรฐาน และยาเคมีบำบัดเพิ่มเติม เทียบกับผู้ป่วยที่ได้เพียงการรักษามาตรฐาน วิธีดำเนินการวิจัย: สุ่มเปรียบเทียบผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกระยะลุกลามเฉพาะที่ ให้ได้รับการรักษาด้วยรังสีรักษาร่วมกับการให้ยาเคมีบำบัดด้วย cisplatin กับการรักษาด้วยรังสีรักษาร่วมกับการให้ยาเคมีบำบัด (concurrent chemoradiation therapy) ตามด้วยการให้ยาเคมีบำบัดเพิ่มเติม (adjuvant chemotherapy) ด้วย paclitaxel และ carboplatin ขนาดตัวอย่างที่จะลงทะเบียนผู้ป่วยเข้าในการศึกษาทั้งหมดที่คำนวณไว้ คือ 500 ราย (หลังจากเพิ่มตัวอย่างในกรณีที่อาจจะมีผู้ป่วยสูญหายหรือติดตามข้อมูลได้ไม่ครบถ้วน) โดยแบ่งเป็นกลุ่มควบคุม และกลุ่มศึกษา กลุ่มละ 250 ราย โดยทำการวิเคราะห์ข้อมูลผู้ป่วยเพื่อคาดคะเนผลการศึกษาเบื้องต้น (interim analysis) เมื่อมีผู้ป่วยลงทะเบียนได้ 250 ราย เพื่อประเมินความปลอดภัย (safety) ประสิทธิผล (efficacy) หรือความไร้ประโยชน์ (futility) โดยจะหยุดการลงทะเบียนผู้ป่วยเพิ่มเติม (study discontinuation) เมื่ออัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วยจากเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์จากการรักษามากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 5 ของจำนวนผู้ป่วยที่ได้รับการรักษา (safety analysis) หรือพบประโยชน์ชัดเจน คือ การให้ยาเคมีบำบัดเพิ่มเติมเพิ่มอัตราการอยู่รอดโดยปราศจากโรคดำเนินต่อสูงมากกว่าการฉายแสงร่วมกับยาเคมีบำบัด ร้อยละ 30 (มากกว่า 2 เท่าของค่าความแตกต่างที่กำหนดไว้จากการทบทวนวรรณกรรม) (efficacy analysis) หรือพบว่าการให้ยาเคมีบำบัดเพิ่มเติมเพิ่มอัตราการอยู่รอดโดยปราศจากโรคดำเนินต่อไม่ถึงร้อยละ 10 (futility analysis) ผลการวิเคราะห์เบื้องต้น: จากการวิเคราะห์ข้อมูลของผู้ป่วยเมื่อลงทะเบียนผู้ป่วยได้ 261 ราย โดยเป็นผู้ป่วยในกลุ่มควบคุม (control arm) 135 ราย และกลุ่มศึกษา (study arm) 136 ราย พบว่า อัตราการตอบสนองต่อการรักษาระยะเวลา และอัตรารอดชีวิตโดยปราศจากโรคดำเนินต่อ ระยะเวลา และอัตรารอดชีวิตโดยรวมของผู้ป่วยไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ อัตราการเกิดผลข้างเคียงพบบ่อยกว่าในกลุ่มที่ได้รับยาเคมีบำบัดเพิ่มเติม บทสรุป: จากผลการวิเคราะห์เบื้องต้นไม่พบประโยชน์ของผลการรักษาด้วยยาเคมีบำบัดเพิ่มเติมมากกว่าการรักษาตามมาตรฐานด้วยการให้รังสีรักษาร่วมกับยาเคมีบำบัด จึงไม่แนะนำให้นำมาใช้ในทางปฏิบัติเป็นการรักษาเพิ่มเติมสำหรับผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกระยะลุกลามเฉพาะที่ | th_TH |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.subject | มะเร็งปากมดลูก | th_TH |
dc.subject | Cervical Cancer | en_EN |
dc.subject | การรักษาด้วยรังสี | th_TH |
dc.subject | Radiation Therapy | en_EN |
dc.subject | เคมีบำบัด | th_TH |
dc.subject | Chemotheraphy | en_EN |
dc.subject | Health Service Delivery | en_EN |
dc.subject | การบริการสุขภาพ | th_TH |
dc.subject | ระบบบริการสุขภาพ | th_TH |
dc.subject | Access to Essential Medicine | en_EN |
dc.subject | Medical Products and Technologies | en_EN |
dc.subject | การบริการสุขภาพ (Health Service Delivery) | th_TH |
dc.subject | ผลิตภัณฑ์ วัคซีน และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Medical Products, Vaccines and Technologies) | th_TH |
dc.title | การศึกษาแบบสุ่มเปรียบเทียบระหว่างการรักษาด้วยรังสีรักษาร่วมกับการให้ยาเคมีบำบัดกับการรักษาด้วยรังสีรักษาร่วมกับการให้ยาเคมีบำบัดตามด้วยการให้ยาเคมีบำบัดเพิ่มเติมในผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกระยะลุกลามเฉพาะที่ | th_TH |
dc.title.alternative | Randomized controlled trial comparing concurrent chemoradiation versus concurrent chemoradiation followed by adjuvant chemotherapy inlocally advanced cervical cancer patients | en_EN |
dc.type | Technical Report | th_TH |
dc.description.abstractalternative | Objectives: To evaluate the efficacy of adjuvant chemotherapy (ACT) in locally advanced stage cervical cancer after concurrent chemoradiation (CCRT) comparing to CCRT alone in terms of response rate, progression-free survival (PFS), and overall survival (OS). Methods: Patients with FIGO stage IIB to IVA, aged between 18-70 years, had ECOG performance score 0-2, had histopathology of squamous cell carcinoma, adenocarcinoma, or adenosquamous carcinoma, and had no para-aortic lymph node enlargement were randomized to CCRT (arm A) or CCRT and ACT (arm B). The patients in both arms had concurrent cisplatin weekly along with pelvic radiation. After a 4-week period after CCRT, the patients in arm B had paclitaxel plus carboplatin every 4 weeks for 3 cycles. Results: Data analysis of 259 patients showed no significant difference of complete responses: 94.1% in arm A vs 87.0% in arm B (p=0.154). With the median follow-up of 27.4 months (range 3.2 – 49.0 months), 15.5% of patients in arm A and 10.8% in arm B experienced recurrences: (p=0.123). There were no significant differences regarding the loco-regional failure but the patients in arm B had significantly lower systemic recurrences, 10.1% vs 5.4% (p=0.029). The 3-year PFS and 3-year OS of the patients in arm A were not significantly different from those of arm B: 66.6% (95% CI, 57.4-75.8%) vs 63.4% (95% CI, 54.6-72.2%) for PFS and 80.1% (95% CI, 71.9-88.3%) vs 69.5% (95% CI, 59.3-79.7%) for OS. The hazard ratio of PFS and OS arm B compared to arm A were 1.26 (95% CI 0.82-1.96) and 1.42 (95% CI 0.81-2.49) respectively. Conclusions: Adjuvant chemotherapy with 3 cycles of paclitaxel plus carboplatin after CCRT did not improve response rates and survivals compared to CCRT alone. There were no differences of loco-regional failure but a significant decrease of systemic recurrences by adjuvant chemotherapy. | en_EN |
dc.identifier.callno | WP480 ศ486ก 2561 | |
dc.identifier.contactno | 59-080 | |
.custom.citation | ศิริวรรณ ตั้งจิตกมล, Siriwan Tangjitgamol, วิชาญ หล่อวิทยา, Vichan Lordvithaya, คณิศา รองศรีแย้ม, Kanisa Rongsriyam, จักรพันธ์ ขุนณรงค์, Jakkapan Khunnarong, สุนำโชค ศรีใจพระเจริญ, Sunamchok Srijaipracharoen, บุษบา ศุภวัฒน์ธนบดี, Busaba Supawattanabodee, กันยารัตน์ กตัญญู, Kanyarat Katanyoo, จตุพล ศรีสมบูรณ์, Jatupol Srisomboon, เอกสิทธ์ ธราวิจิตรกุล, Ekkasit Tharavijitkul, ดวงใจ แสงถวัลย์, Duangjai Sangthawan, ธิติ อัจจิมากุล, Thiti Atjimakul, ประเสริฐ เลิศสงวนสินชัย, Prasert Lertsanguansinchai, ปิยะวรรณ ปริยวาทีกุล, Piyawan Pariyawateekul, อภิรดี กฤดากร, Apiradee Kridakara, ช่อแก้ว โตวณะบุตร, Chokaew Tovanabutra, จิรศักดิ์ สุขาบูรณ์, Jirasak Sukhaboon, ทัศน์วรรณ อาษากิจ, Tussawan Asakit, Kannika Paengchit, สมคิด เพ็ญพัธนกุล, Somkit Penpattanagul, สิเรนทรา หวังลิขิตกูล, Sirentra Wanglikitkoon, เทวินทร์ โชติธนประสิทธิ์, Taywin Chottetanaprasith, Prapai Tanprasert, วรรณวิภา จันทร์วีระชัย, Wanwipa Janweerachai, ยศ ตีระวัฒนานนท์, Yot Teerawattananon, จิตติ หาญประเสริฐพงษ์, Jitti Hanprasertpong, กาลนิการ์ แปงจิตร์ and ประไพ ตันประเสริฐ. "การศึกษาแบบสุ่มเปรียบเทียบระหว่างการรักษาด้วยรังสีรักษาร่วมกับการให้ยาเคมีบำบัดกับการรักษาด้วยรังสีรักษาร่วมกับการให้ยาเคมีบำบัดตามด้วยการให้ยาเคมีบำบัดเพิ่มเติมในผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกระยะลุกลามเฉพาะที่." 2561. <a href="http://hdl.handle.net/11228/4920">http://hdl.handle.net/11228/4920</a>. | |
.custom.total_download | 157 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 0 | |
.custom.downloaded_this_year | 6 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 0 | |