Show simple item record

Congenital Hypothyroidism from Newborn Screening in Thailand

dc.contributor.authorจุฬาลักษณ์ คุปตานนท์th_TH
dc.contributor.authorChulaluck Kuptanonen_EN
dc.contributor.authorศิราภรณ์ สวัสดิวรth_TH
dc.contributor.authorSiraporn Sawasdivornen_EN
dc.contributor.authorประภาศรี กาบจันทร์th_TH
dc.contributor.authorPrapasri Kabchanen_EN
dc.date.accessioned2018-09-28T06:36:31Z
dc.date.available2018-09-28T06:36:31Z
dc.date.issued2561-09
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 12,3 (ก.ค.-ก.ย. 2561) : 452-455th_TH
dc.identifier.issn0858-9437
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/4940
dc.description.abstractภูมิหลัง การตรวจคัดกรองภาวะพร่องไทรอยด์ฮอร์โมนแต่กำเนิดในประเทศไทยได้ทำต่อเนื่องมามากกว่า 25 ปี เพื่อให้ทารกได้รับการวินิจฉัยและรักษาภายในอายุ 14 วัน ร่วมกับการรักษาต่อเนื่องเพื่อป้องกันภาวะปัญญาอ่อนและพัฒนาการช้าของเด็กไทย ข้อมูลส่วนใหญ่มาจากแต่ละพื้นที่ การรายงานข้อมูลรวมในระดับประเทศยังไม่แพร่หลาย วัตถุประสงค์ ศึกษาจำนวนและอุบัติการณ์ของทารกที่มีภาวะพร่องไทรอยด์ฮอร์โมนแต่กำเนิดจากการตรวจคัดกรองในประเทศไทย วิธีการศึกษา เก็บข้อมูลทารกแรกเกิดที่มีผลการตรวจคัดกรองภาวะพร่องไทรอยด์ฮอร์โมนแต่กำเนิดและผลการตรวจยืนยันผิดปกติระหว่างวันที่ 1 สิงหาคม 2557 ถึง 31 กรกฎาคม 2558 เป็นระยะเวลา 1 ปี ผลการศึกษา มีเด็กที่มีผลการตรวจคัดกรองผิดปกติ 1,663 ราย (ร้อยละ0.24) จากการตรวจทั้งหมด 699,331 ราย ผลการตรวจยืนยันพบว่าปกติ 1,182 ราย (ร้อยละ 71.08) ผิดปกติ 348 ราย (ร้อยละ 20.93) ไม่ทราบผลยืนยัน 133 ราย (ร้อยละ 7.99) เด็กที่มีผลการตรวจยืนยันผิดปกติและได้รับการรักษา 348 ราย เป็นภาวะพร่องไทรอยด์ฮอร์โมนแต่กำเนิดชั่วคราว 23 ราย (ร้อยละ 6.60) กินยาต่อเนื่องอยู่ 325 ราย อุบัติการณ์ของการเกิดภาวะพร่องไทรอยด์ฮอร์โมนแต่กำเนิดในประเทศไทยเท่ากับ 1 ต่อ 2009 สรุป ยังคงพบเด็กที่มีภาวะพร่องไทรอยด์ฮอร์โมนแต่กำเนิดจากการตรวจคัดกรองในประเทศไทย ที่ได้เริ่มรับการรักษาช้า ความรู้และการตระหนักถึงความสำคัญของการตรวจวินิจฉัยโรคและให้การรักษาตั้งแต่แรก เป็นสิ่งสำคัญในการนำไปสู่สัมฤทธิผลของการตรวจคัดกรองภาวะพร่องไทรอยด์ฮอร์โมนแต่กำเนิดth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectทารกแรกเกิดth_TH
dc.subjectNewborn infantsen_EN
dc.subjectCongenital Hypothyroidismen_EN
dc.subjectHypothyroidism in childrenen_EN
dc.titleการตรวจคัดกรองภาวะพร่องไทรอยด์ฮอร์โมนแต่กำเนิดในประเทศไทยth_TH
dc.title.alternativeCongenital Hypothyroidism from Newborn Screening in Thailanden_EN
dc.typeArticleth_TH
dc.description.abstractalternativeBackground: Newborn screening for congenital hypothyroidism in Thailand was performed more than 25 years. To prevent mental retardation and delayed development, early diagnosis and treatment should be done within 14 days. Most previous studies reported from some areas or provinces, recent country data is not available. Objective: To determine the incidence of neonates with congenital hypothyroidism from newborn screening in Thailand. Methodology: During August 1, 2014-July 31, 2015, data of neonates who had positive screening for congenital hypothyroidism and confirmatory tests were recorded. Results: Presumptive positive congenital hypothyroidism was found in 1,663 cases (0.24%) from total 699,331 babies screened. Confirmatory test was performed in 1,530 cases (92%) and 348 cases (20.98%) were confirmatory positive. Among these 348 cases, transient hypothyroidism were diagnosed in 23 cases (6.6%). The incidence of congenital hypothyroidism in Thailand was 1:2009. Conclusion: Early diagnosis and treatment of positive cases are necessary for better outcome of congenital hypothyroidism screening in Thailand.en_EN
.custom.citationจุฬาลักษณ์ คุปตานนท์, Chulaluck Kuptanon, ศิราภรณ์ สวัสดิวร, Siraporn Sawasdivorn, ประภาศรี กาบจันทร์ and Prapasri Kabchan. "การตรวจคัดกรองภาวะพร่องไทรอยด์ฮอร์โมนแต่กำเนิดในประเทศไทย." 2561. <a href="http://hdl.handle.net/11228/4940">http://hdl.handle.net/11228/4940</a>.
.custom.total_download5595
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month90
.custom.downloaded_this_year1042
.custom.downloaded_fiscal_year187

Fulltext
Icon
Name: hsri-journal-v12n ...
Size: 202.8Kb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

  • Articles [1352]
    บทความวิชาการ

Show simple item record