Now showing items 121-140 of 620

    • สิทธิสุขภาพ สิทธิมนุษยชน 

      สุรสม กฤษณะจูฑะ; ธวัช มณีผ่อง; สันติพงษ์ ช้างเผือก; อุ่นใจ เจียมบูรณะกุล; รัชนี นิลจันทร์ (สำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ, 2550-10)
      การผสมผสานสิทธิมนุษยชนกับสุขภาพในสังคมไทย ดูเหมือนว่าจะไม่ได้กลมกลืนเป็นเนื้อเดียวกัน การทุ่มเถียงระหว่างแพทย์ในฐานะผู้รักษากับคนไข้และคนรอบข้างในประเด็น “สิทธิผู้ป่วย” เป็นตัวอย่างของความไม่ลงรอยนี้ ฝ่ายหนึ่งเรียกร้องคว ...
    • สุขภาพปฐมภูมิ บริการปฐมภูมิ จากปรัชญาสู่ปฏิบัติการสุขภาพมิติใหม่ 

      โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์; ประชาธิป กะทา (สำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ, 2550-11)
      แม้ว่าระบบการดูแลสุขภาพปฐมภูมิ หรือ Primary Care จะถูกกล่าวถึงและนำไปปฏิบัติเป็นส่วนหนึ่งของการปฏิรูประบบบริการสุขภาพเพื่อสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้ามาได้ระยะหนึ่งแล้ว แต่แนวคิดเรื่องการดูแลสุขภาพปฐมภูมิก็ยังขาดการทำคว ...
    • การสื่อสารสุขภาพ 

      ปาจรีย์ ธนะสมบูรณ์กิจ (แผนงานวิจัยและพัฒนาระบบสื่อสารสุขภาพสู่ประชาชน (รสส.), 2550-05-01)
      แผนงานวิจัยและพัฒนาระบบสื่อสารสุขภาพสู่ประชาชน (รสส.) โดย สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (พ.ศ. 2546-2551) เกิดขึ้นเพื่อพัฒนากลไกและความเป็นวิชาชีพของการสื่อสารสุขภาพ เพิ่มศักยภาพนักสื่อสารสุขภาพ รูปแบบวิธีการทำสื่อสิ่งพิมพ์เพื่อสุขภาพ ...
    • Thailand national strategic plan on antimicrobial resistance 2017-2021 

      Health Systems Research Institute; Coordination and Integration Committee on Antimicrobial Resistance (Health Systems Research Institute, 2560)
      antimicrobial medicines, especially antibacterial agents, are essential to medical care and public health. As well as having a vital role in reducing morbidity and mortality in individuals who present with bacterial ...
    • แผนยุทธศาสตร์การจัดการการดื้อยาต้านจุลชีพประเทศไทย พ.ศ. 2560-2564 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; คณะกรรมการประสานและบูรณาการงานดื้อยาต้านจุลชีพ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560)
      ยาต้านจุลชีพ (Antimicrobial Resistance) โดยเฉพาะอย่างยิ่งยาต้านจุลชีพที่มีฤทธิ์ในการฆ่าเชื้อแบคทีเรีย มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการแพทย์และการสาธารณสุข เนื่องจากใช้เพื่อป้องกันและรักษาโรคที่เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย ...
    • หลักสูตรฝึกอบรมสำหรับครูโรงเรียนแกนนำร่วมประถมศึกษาในการดูแลปรับพฤติกรรม และส่งเสริมการเรียนรู้ในเด็กที่มีอาการสมาธิสั้น ปีที่ 1 

      สมัย ศิริทองถาวร; Samai Sirithongthaworn; ภิญโญ อิสรพงศ์; Pinyo Itsarapong; เพ็ญกาญจน์ กาญจนรัตน์; Penkarn Kanjanarat; วรรณกมล สอนสิงห์; Wannakamol Sonsingh; นุจรี คำด้วง; Nootjaree Kamduang; สุรีรักษ์ พิลา; Sureerak Pila; พัชนี พัฒนกิจโกศล; Patchanee Pattanakitkosol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560)
      กรมสุขภาพจิต โดยสถาบันพัฒนาการเด็กราชนครินทร์ ได้จัดทำหลักสูตรฝึกอบรมสำหรับครูโรงเรียนแกนนำเรียนร่วมประถมศึกษาในการดูแล ปรับพฤติกรรม และส่งเสริมการเรียนรู้ในเด็กที่มีอาการสมาธิสั้นเพื่อให้ครูโรงเรียนแกนนำเรียนร่วมใช้สำหร ...
    • หลักสูตรการฝึกอบรมบุคลากรทางการแพทย์ในการวินิจฉัย รักษา และดูแลเด็กที่มีอาการสมาธิสั้น ปีที่ 1 

      สมัย ศิริทองถาวร; Samai Sirithongthaworn; ภิญโญ อิสรพงศ์; Pinyo Itsarapong; เพ็ญกาญจน์ กาญจนรัตน์; Penkarn Kanjanarat; วรรณกมล สอนสิงห์; Wannakamol Sonsingh; นุจรี คำด้วง; Nootjaree Kamduang; สุรีรักษ์ พิลา; Sureerak Pila; สกนธ์ สุภากุล; Sakon Supakul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560)
      กรมสุขภาพจิต โดยสถาบันพัฒนาการเด็กราชนครินทร์ ได้จัดทำหลักสูตรการฝึกอบรมบุคลากรทางการแพทย์ในการวินิจฉัย รักษา และดูแลเด็กที่มีอาการสมาธิสั้น เพื่อให้บุคลากรทางการแพทย์ที่รับผิดชอบงานสุขภาพจิตมีความรู้ ทักษะ และสามารถดูแล ...
    • คู่มือเทคนิคและกระบวนการปรับพฤติกรรมเด็กที่มีอาการสมาธิสั้นที่โรงเรียน 

      สมัย ศิริทองถาวร; Samai Sirithongthaworn; ภิญโญ อิสรพงศ์; Pinyo Itsarapong; เพ็ญกาญจน์ กาญจนรัตน์; Penkarn Kanjanarat; วรรณกมล สอนสิงห์; Wannakamol Sonsingh; นุจรี คำด้วง; Nootjaree Kamduang; สุรีรักษ์ พิลา; Sureerak Pila; พัชนี พัฒนกิจโกศล; Patchanee Pattanakitkosol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560)
      กรมสุขภาพจิต โดยสถาบันพัฒนาการเด็กราชนครินทร์ ได้จัดทำคู่มือเทคนิคและกระบวนการปรับพฤติกรรมเด็กที่มีอาการสมาธิสั้นที่โรงเรียน เพื่อให้ครูสามารถจัดการปัญหาพฤติกรรมทางอารมณ์และฝึกทักษะการควบคุมอารมณ์เด็กสมาธิสั้นที่โรงเรียน ...
    • คู่มือการรักษาด้วยยาในเด็กสมาธิสั้นและการติดตามการตอบสนองต่อยาของเด็ก 

      สมัย ศิริทองถาวร; Samai Sirithongthaworn; ภิญโญ อิสรพงศ์; Pinyo Itsarapong; เพ็ญกาญจน์ กาญจนรัตน์; Penkarn Kanjanarat; วรรณกมล สอนสิงห์; Wannakamol Sonsingh; นุจรี คำด้วง; Nootjaree Kamduang; สุรีรักษ์ พิลา; Sureerak Pila; พัชนี พัฒนกิจโกศล; Patchanee Pattanakitkosol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560)
      กรมสุขภาพจิต โดยสถาบันพัฒนาการเด็กราชนครินทร์ ได้จัดทำคู่มือการรักษาด้วยยาในเด็กสมาธิสั้นและการติดตามการตอบสนองต่อยาของเด็ก เพื่อให้ครูโรงเรียนประถมศึกษามีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับยาที่ใช้รักษาโรคสมาธิสั้น ทั้งด้านผล ...
    • คู่มือความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคสมาธิสั้นและบทบาทของครูในการดูแลเด็กที่มีอาการสมาธิสั้น 

      สมัย ศิริทองถาวร; Samai Sirithongthaworn; ภิญโญ อิสรพงศ์; Pinyo Itsarapong; เพ็ญกาญจน์ กาญจนรัตน์; Penkarn Kanjanarat; วรรณกมล สอนสิงห์; Wannakamol Sonsingh; นุจรี คำด้วง; Nootjaree Kamduang; สุรีรักษ์ พิลา; Sureerak Pila; พัชนี พัฒนกิจโกศล; Patchanee Pattanakitkosol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560)
      กรมสุขภาพจิต โดยสถาบันพัฒนาการเด็กราชนครินทร์ ได้จัดทำคู่มือความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคสมาธิสั้น และบทบาทของครูในการดูแลเด็กที่มีอาการสมาธิสั้น เพื่อให้ครูโรงเรียนประถมศึกษามีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับโรคสมาธิสั้นเน ...
    • คู่มือการจัดการชั้นเรียนและเทคนิคการสอนเด็กที่มีอาการสมาธิสั้นที่มีปัญหาการเรียน 

      สมัย ศิริทองถาวร; Samai Sirithongthaworn; ภิญโญ อิสรพงศ์; Pinyo Itsarapong; เพ็ญกาญจน์ กาญจนรัตน์; Penkarn Kanjanarat; วรรณกมล สอนสิงห์; Wannakamol Sonsingh; นุจรี คำด้วง; Nootjaree Kamduang; สุรีรักษ์ พิลา; Sureerak Pila; พัชนี พัฒนกิจโกศล; Patchanee Pattanakitkosol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560)
      โรคสมาธิสั้นพบได้ร้อยละ 5-10 ของประชากรทั่วไป หากแต่ในแต่ละชั้นเรียนที่มีเด็ก 40-50 คน อาจมีเด็กสมาธิสั้นรวมอยู่ด้วย 2 คน โรคสมาธิสั้นเริ่มสังเกตอาการได้ในวัยเรียน ดังนั้น ครูจึงมีบทบาทสำคัญที่จะช่วยเหลือเด็กสมาธิสั้น ...
    • คู่มือการคัดกรองและปรับพฤติกรรมเด็กที่มีอาการสมาธิสั้นสำหรับผู้ปกครอง 

      สมัย ศิริทองถาวร; Samai Sirithongthaworn; ภิญโญ อิสรพงศ์; Pinyo Itsarapong; เพ็ญกาญจน์ กาญจนรัตน์; Penkarn Kanjanarat; วรรณกมล สอนสิงห์; Wannakamol Sonsingh; กชพงศ์ สารการ; Kotchapong Sarakan; สุรีรักษ์ พิลา; Sureerak Pila; พัชนี พัฒนกิจโกศล; Patchanee Pattanakitkosol; นุจรี คำด้วง; Nootjaree Kamduang (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560)
      โรคสมาธิสั้นเป็นโรคที่เด็กมีความผิดปกติที่สำคัญ 3 ด้าน คือ อาการขาดสมาธิ พฤติกรรมหุนหันพลันแล่น และอยู่ไม่นิ่งหรือซนผิดปกติการปรับตัวเข้ากับผู้อื่นได้ไม่ดี ซึ่งทำให้เกิดปัญหาระหว่างผู้ปกครองกับเด็กได้ ปัญหาที่เกิดจากโรคส ...
    • คู่มือการจัดการสิ่งแวดล้อมชุมชนที่เหมาะสมกับกลุ่มผู้สูงอายุในพื้นที่ชนบทของประเทศไทย 

      วิสาขา ภู่จินดา; ยลดา พงค์สุภา; วิภาพรรณ เพียรแย้ม; ภารณ วงศ์จันทร์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-06)
      คู่มือเล่มนี้เกิดขึ้นจากการศึกษาของผู้วิจัยในเรื่อง “การพัฒนารูปแบบการจัดการสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการดูแลผู้สูงอายุในพื้นที่ชนบทของประเทศไทย” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการสิ่งแวดล้อมชุมชนท ...
    • การถ่ายทอดประสบการณ์ในงานวิเคราะห์ยาเพื่อการจัดหาเวชภัณฑ์ที่มีคุณภาพและรู้เท่าทันบริษัทยา และกรณีศึกษาประสบการณ์จากการควบคุมค่าใช้จ่ายด้านยา 

      นพคุณ ธรรมธัชอารี; ธนนรรจ์ รัตนโชติพานิช; สายศิริ ด่านวัฒนะ; อภิญญา อิสระชาญพานิช; ภาสกร สวนเรือง; ณัฐธิดา สุขเรืองรอง (สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย(สวปก.) เครือสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข(สวรส.)., 2555)
      สถานการณ์ค่าใช้จ่ายที่เพิ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว ทำให้โรงพยาบาลซึ่งเป็นแหล่งกระจายยาที่ใหญ่ที่สุด จำเป็นต้องควบคุมค่าใช้จ่ายในส่วนนี้อย่างจริงจัง ซึ่งมาตรการหนึ่งที่พบว่าได้ผลดี ได้แก่ การลดปริมาณและมูลค่าการใช้ยาต้นแบบ ...
    • ฝ่าข้ามความบ้า : การเดินทางจากโลกหลอนออกมาสู่โลกจริงของผู้บกพร่องทางจิต 

      วีระศักดิ์ จันทร์ส่งแสง (แผนงานสร้างเสริมสุขภาพคนพิการในสังคมไทย สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550-10)
      หนังสือเล่มนี้เป็นหนึ่งในชุดประสบการณ์ชีวิตคนพิการ ที่ว่าด้วยเรื่องราวชีวิตของคนพิการทางจิตและครอบครัวที่ร่วมกันฟันฝ่าวิกฤตความเจ็บป่วยทางจิตมาจนพบความสุขอีกครั้ง ซึ่งแผนงานสร้างเสริมสุขภาพคนพิการในสังคมไทย ตั้งใจทำหน้าท ...
    • เสียงจากโลกเงียบ : มือสื่อภาษา ตาสื่อใจ 

      วีระศักดิ์ จันทร์ส่งแสง (แผนงานสร้างเสริมสุขภาพคนพิการในสังคมไทย สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2549-12)
      หนังสือเล่มนี้เป็นหนึ่งในชุดประสบการณ์ชีวิตคนพิการ ที่ว่าด้วยเรื่องราวชีวิตของคนพิการที่ว่าด้วยเรื่องราวของคนหูหนวก ซึ่งแผนงานสร้างเสริมสุขภาพคนพิการในสังคมไทย ตั้งใจทำหน้าที่ค้นคว้าจากเจ้าของประสบการณ์ตรงและนำเข้าสู่กระ ...
    • ด้วยหัวใจและร่างกายส่วนที่เหลือ : ศักยภาพและชีวิตอิสระของผู้พิการร่างกาย 

      วีระศักดิ์ จันทร์ส่งแสง (แผนงานสร้างเสริมสุขภาพคนพิการในสังคมไทย สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550-03)
      หนังสือเล่มนี้เป็นหนึ่งในชุดประสบการณ์ชีวิตคนพิการ ที่ว่าด้วยเรื่องราวชีวิตของคนพิการทางร่างกายที่ส่งผลต่อการเคลื่อนไหว จนจำเป็นต้องใช้รถนั่งเป็นอุปกรณ์เครื่องช่วยในการดำรงชีวิต ซึ่งแผนงานสร้างเสริมสุขภาพคนพิการในสังคมไทย ...
    • ด้วยแรงแห่งรัก 

      วีระศักดิ์ จันทร์ส่งแสง (แผนงานสร้างเสริมสุขภาพคนพิการในสังคมไทย สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550-06)
      หนังสือเล่มนี้เป็นหนึ่งในชุดประสบการณ์ชีวิตคนพิการ ที่ว่าด้วยเรื่องราวชีวิตของครอบครัวที่มีลูกเป็นเด็กพิการ ซึ่งแผนงานสร้างเสริมสุขภาพคนพิการในสังคมไทย ตั้งใจทำหน้าที่ค้นคว้าจากเจ้าของประสบการณ์ตรงและนำเข้าสู่กระบวนการเ ...
    • เต้นรำในความมืด : หลากหลายนาฎกรรมชีวิตของผู้พิการทางสายตา 

      วีระศักดิ์ จันทร์ส่งแสง (แผนงานสร้างเสริมสุขภาพคนพิการในสังคมไทย สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2549-09)
      หนังสือเล่มนี้เป็นหนึ่งในชุดประสบการณ์ชีวิตคนพิการ ที่ว่าด้วยเรื่องราวชีวิตของคนตาบอด ซึ่งแผนงานสร้างเสริมสุขภาพคนพิการในสังคมไทย ตั้งใจทำหน้าที่ค้นคว้าจากเจ้าของประสบการณ์ตรงและนำเข้าสู่กระบวนการเรียนรู้ของสังคม ...
    • โลกกลมๆ หนึ่งใบกับนายก้อนดิน 

      สุริยัน สุดศรีวงศ์ (สำนักงานสำรวจสุขภาพประชาชนไทย สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-07)
      หนังสือเรื่อง โลกกลมๆ หนึ่งใบกับนายก้อนดิน เป็นเรื่องเล่าประสบการณ์ของนายก้อนดิน ที่ต่อเนื่องจากหนังสือเล่มก่อน ชื่อ บันทึกของนายก้อนดิน เนื้อหาในหนังสือเล่มนี้อิงข้อมูลจากผลการสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกายครั้งที่ ...