dc.contributor.author | ดนัย ชินคำ | th_TH |
dc.contributor.author | Danai Chinnacom | en_EN |
dc.contributor.author | สุรเดช ดวงทิพย์สิริกุล | th_TH |
dc.contributor.author | Suradech Doungthipsirikul | en_EN |
dc.contributor.author | อกนิฏฐา พูนชัย | th_TH |
dc.contributor.author | Akanittha Poonchai | en_EN |
dc.contributor.author | กุมารี พัชนี | th_TH |
dc.contributor.author | Kumaree Patchanee | en_EN |
dc.contributor.author | ภูษิต ประคองสาย | th_TH |
dc.contributor.author | Phusit Prakongsai | en_EN |
dc.date.accessioned | 2019-03-27T12:49:15Z | |
dc.date.available | 2019-03-27T12:49:15Z | |
dc.date.issued | 2562-03 | |
dc.identifier.citation | วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 13,1 (ม.ค.-มี.ค. 2562) : 34-46 | th_TH |
dc.identifier.issn | 26729415 | |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/5034 | |
dc.description.abstract | โครงการศึกษาเพื่อพัฒนาชุดสิทธิประโยชน์ภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า เริ่มดำเนินการเมื่อปี พ.ศ. 2552 มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อพัฒนาชุดสิทธิประโยชน์ให้มีความครอบคลุมมากขึ้นด้วยกระบวนการที่เป็นระบบ โปร่งใสและอยู่บนพื้นฐานของหลักฐานทางวิชาการ โดยอาศัยการมีส่วนร่วมและการยอมรับของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ผู้วิจัยได้ศึกษาวิเคราะห์เอกสารที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการพัฒนาชุดสิทธิประโยชน์ฯ ระหว่างปี พ.ศ. 2552-2558 ร่วมกับการสังเกตแบบมีส่วนร่วมในกระบวนการและการประชุมต่างๆ ตั้งแต่การพัฒนาโครงการ การจัดลำดับความสำคัญและการพิจารณาคัดเลือกหัวข้อ การวิจัยด้วยกระบวนการประเมินเทคโนโลยีด้านสุขภาพ และการนำเสนอผลการประเมิน ผลการศึกษาพบว่า มีหัวข้อปัญหาหรือเทคโนโลยีด้านสุขภาพที่เสนอเข้าสู่การประเมินจำนวน 133 หัวข้อ ส่วนใหญ่เป็นหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับชุดบริการสุขภาพ (ร้อยละ 31) รองลงมาคือยาและวัคซีน (ร้อยละ 25) เครื่องมือแพทย์ (ร้อยละ 23) การคัดกรองและการรักษาโรค (ร้อยละ 21) หัวข้อที่ถูกคัดเลือกให้ทำการประเมินเทคโนโลยีด้านสุขภาพมีจำนวน 65 หัวข้อ ในจำนวนนี้มีหัวข้อที่ทำการประเมินเสร็จสิ้นจำนวน 45 หัวข้อ และมีหัวข้อที่นำเสนอผลการศึกษาต่อคณะอนุกรรมการพัฒนาสิทธิประโยชน์และระบบบริการจำนวน 26 หัวข้อ ในจำนวนนี้คณะอนุกรรมการฯ พิจารณาเห็นชอบให้บรรจุเป็นชุดสิทธิประโยชน์จำนวน 9 หัวข้อ พิจารณาว่ามีอยู่ในชุดสิทธิประโยชน์แล้วจำนวน 2 หัวข้อ รับทราบข้อเสนอแต่เสนอให้ทีมวิจัยทำการศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมจำนวน 10 หัวข้อ และไม่เสนอให้เป็นสิทธิประโยชน์จำนวน 5 หัวข้อ ทั้งนี้หัวข้อที่คณะอนุกรรมการฯ เห็นชอบให้เป็นสิทธิประโยชน์ เช่น บริการตรวจคัดกรองยีน HLA-B*1502 เพื่อหลีกเลี่ยงการเกิดผื่นแพ้ยาชนิดรุนแรง สำหรับผู้ป่วยที่ต้องเริ่มการรักษาด้วยยา carbamazepine ในทุกกรณี และการตรวจคัดกรองภาวะสายตาผิดปกติในเด็กไทยระดับชั้นอนุบาลและชั้นประถมศึกษาโดยคุณครู ซึ่งคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติได้ประกาศให้เป็นสิทธิประโยชน์ภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า | th_TH |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.subject | การประเมินเทคโนโลยี | th_TH |
dc.subject | Technology Assessment | en_EN |
dc.subject | หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ | th_TH |
dc.subject | Universal Health Coverage | en_EN |
dc.subject | บริการทางการแพทย์ | th_TH |
dc.subject | Medical Care | en_EN |
dc.title | การประเมินเทคโนโลยีด้านสุขภาพกับการพัฒนาชุดสิทธิประโยชน์ภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า | th_TH |
dc.title.alternative | Health Technology Assessment and the Development of Benefit Packages under the Universal Coverage Scheme | en_EN |
dc.type | Article | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The Universal Coverage Scheme (UCS) has operated the Universal Health Coverage Benefits Package Development Project since 2009. The project aims to develop the health benefit package to be covered under UCS with transparent and participatory process involving stakeholders based on evidence. The researchers reviewed the document related to the development of benefit package in 2009-2015 and participated in the meetings of development of benefit package, starting from proposal development, prioritization and selection of health technologies, assessment of health technologies, and results presentation in stakeholder meetings. During 2009-2015, there were 133 health technologies or health topics nominated by the stakeholders. Among the topics nominated, health care package, drug and vaccine, medical devices, screening and treatment topics were nominated at 31%, 25%, 23%, and 21% respectively. Out of the 133 topics, 65 were selected for the health technology assessment, 45 were completed, and 26 were presented to the Sub Committee for the Development of Benefits Package and Service Delivery (SCBP). The SCBP made the decision to include 9 topics in the benefit package, 2 more topics were interpreted as already included in the package, 10 topics were requested for further evidence, and 5 topics excluded. Among the 9 topics selected by the SCBP, the topics that were finally implemented in the UCS were the HLA-B*15:02 screening for carbamazepine-induced severe adverse drug reactions, and the refractive error screening by school teachers in pre-primary and primary schools in Thailand. | en_EN |
dc.subject.keyword | Universal Health Coverage | en_EN |
dc.subject.keyword | การประเมินเทคโนโลยีด้านสุขภาพ | th_TH |
.custom.citation | ดนัย ชินคำ, Danai Chinnacom, สุรเดช ดวงทิพย์สิริกุล, Suradech Doungthipsirikul, อกนิฏฐา พูนชัย, Akanittha Poonchai, กุมารี พัชนี, Kumaree Patchanee, ภูษิต ประคองสาย and Phusit Prakongsai. "การประเมินเทคโนโลยีด้านสุขภาพกับการพัฒนาชุดสิทธิประโยชน์ภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า." 2562. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5034">http://hdl.handle.net/11228/5034</a>. | |
.custom.total_download | 1371 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 22 | |
.custom.downloaded_this_year | 401 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 65 | |