การบริหารจัดการการส่งเสริมกิจกรรมทางกายของสิบสององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในประเทศไทย
dc.contributor.author | ธีรพงษ์ คำพุฒ | th_TH |
dc.contributor.author | Theerapong Khamput | en_EN |
dc.contributor.author | กิตติพงษ์ ภัสสร | th_TH |
dc.contributor.author | Kittipong Patsorn | en_EN |
dc.contributor.author | ธวัชชัย ทองบ่อ | th_TH |
dc.contributor.author | Tawadchai Thongbo | en_EN |
dc.contributor.author | เศวต เซี่ยงลี่ | th_TH |
dc.contributor.author | Sawed Seunglee | en_EN |
dc.contributor.author | ธวัชชัย แคใหญ่ | th_TH |
dc.contributor.author | Tawatchai Keryai | en_EN |
dc.contributor.author | วัชรินทร์ แสงสัมฤทธิ์ผล | th_TH |
dc.contributor.author | Watcharin Sangsamritpol | en_EN |
dc.contributor.author | มังกร พวงครามพันธุ์ | th_TH |
dc.contributor.author | Mungkorn Puangkrampun | en_EN |
dc.contributor.author | จิราภรณ์ กมลรังสรรค์ | th_TH |
dc.contributor.author | Jiraporn Kamonrungsan | en_EN |
dc.contributor.author | ปทุมรัตน์ สามารถ | th_TH |
dc.contributor.author | Pathumrat Samart | en_EN |
dc.contributor.author | ฐิติกร โตโพธิ์ไทย | th_TH |
dc.contributor.author | Thitikorn Topothai | en_EN |
dc.date.accessioned | 2019-03-28T12:35:28Z | |
dc.date.available | 2019-03-28T12:35:28Z | |
dc.date.issued | 2562-03 | |
dc.identifier.citation | วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 13,1 (ม.ค.-มี.ค. 2562) : 63-89 | th_TH |
dc.identifier.issn | 26729415 | |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/5037 | |
dc.description.abstract | การส่งเสริมกิจกรรมทางกายต้องอาศัยความร่วมมือในการทำงานจากหลากหลายภาคส่วน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีโครงสร้างการบริหารงานที่เอื้อต่อการส่งเสริมกิจกรรมทางกายให้กับประชาชนในพื้นที่ชุมชนของตน การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบการบริหารจัดการการส่งเสริมกิจกรรมทางกายขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 12 แห่ง สุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงจาก 12 เขตสุขภาพ เก็บข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์ การสังเกตและทบทวนเอกสารที่เกี่ยวข้อง ผลการศึกษาพบว่า องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ศึกษามีโครงสร้างการทำงาน ทรัพยากร นโยบายและภาคีเครือข่ายที่เอื้อต่อการบริหารจัดการการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ทั้งในด้านสิ่งนำเข้า กระบวนการบริหารและผลลัพธ์ ที่เหมาะสมกับการส่งเสริมกิจกรรมทางกายให้กับประชาชนทุกกลุ่มวัยในชุมชน โดยมีความเหมือนและแตกต่างในด้านการดำเนินการตามบริบทและขนาดของพื้นที่ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจึงมีความเหมาะสมในการเป็นผู้บริหารจัดการการส่งเสริมกิจกรรมทางกายให้กับชุมชน ดังนั้น หน่วยงานที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย จึงควรให้ความสำคัญต่อการบูรณาการความร่วมมือ ผนึกกำลังกันดำเนินงานส่งเสริมกิจกรรมทางกายร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อยกระดับการทำงานส่งเสริมกิจกรรมทางกายให้ครอบคลุมทุกมิติ เพื่อนำไปสู่การมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพออย่างเหมาะสมของประชาชนคนไทยต่อไป | th_TH |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.subject | กิจกรรมทางกาย | th_TH |
dc.subject | Physical activity | en_EN |
dc.subject | การสร้างเสริมสุขภาพ | th_TH |
dc.subject | Health Promotion | th_TH |
dc.title | การบริหารจัดการการส่งเสริมกิจกรรมทางกายของสิบสององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในประเทศไทย | th_TH |
dc.title.alternative | Administration of Physical Activity Promotion by Twelve Local Administrative Organizations in Thailand | en_EN |
dc.type | Article | th_TH |
dc.description.abstractalternative | Physical activity promotion needs multi-sectoral collaboration. The organizational structure of local authorities is conducive for physical activity promotion administration in the communities. This study aimed to explore local authorities’ physical activity promotion administration in the communities. In depth interviews, direct observations, and document reviews were done in 12 municipalities from 12 Health Regions. The study revealed that all municipalities had common patterns of organizational structure, resources, policies and stakeholders as well as physical activity promotion administration suitable for physical activity promotion to people in all age groups in the communities according to the contexts and levels of municipalities. The study concluded that local authorities was suitable for administrating physical activity promotion to the communities and all physical activity promotion agencies should set high priority on networking with local authorities for physical activity promotion to people. | en_EN |
.custom.citation | ธีรพงษ์ คำพุฒ, Theerapong Khamput, กิตติพงษ์ ภัสสร, Kittipong Patsorn, ธวัชชัย ทองบ่อ, Tawadchai Thongbo, เศวต เซี่ยงลี่, Sawed Seunglee, ธวัชชัย แคใหญ่, Tawatchai Keryai, วัชรินทร์ แสงสัมฤทธิ์ผล, Watcharin Sangsamritpol, มังกร พวงครามพันธุ์, Mungkorn Puangkrampun, จิราภรณ์ กมลรังสรรค์, Jiraporn Kamonrungsan, ปทุมรัตน์ สามารถ, Pathumrat Samart, ฐิติกร โตโพธิ์ไทย and Thitikorn Topothai. "การบริหารจัดการการส่งเสริมกิจกรรมทางกายของสิบสององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในประเทศไทย." 2562. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5037">http://hdl.handle.net/11228/5037</a>. | |
.custom.total_download | 1224 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 8 | |
.custom.downloaded_this_year | 165 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 28 |
ผลงานวิชาการเหล่านี้เป็นลิขสิทธิ์ของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข หากมีการนำไปใช้อ้างอิง โปรดอ้างถึงสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในฐานะเจ้าของลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติสงวนลิขสิทธิ์สำหรับการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ |
ฉบับเต็ม
ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้
-
Articles [1352]
บทความวิชาการ