แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

ต้นทุนการจัดบริการของคลินิกหมอครอบครัว

dc.contributor.authorขวัญประชา เชียงไชยสกุลไทยth_TH
dc.contributor.authorKwanpracha Chiangchaisakulthaien_US
dc.contributor.authorอุทุมพร วงษ์ศิลป์th_TH
dc.contributor.authorUtoomporn Wongsinen_US
dc.contributor.authorกัญจนา ติษยาธิคมth_TH
dc.contributor.authorKanjana Tisayathikomen_US
dc.contributor.authorวาริสา ทรัพย์ประดิษฐth_TH
dc.contributor.authorWarisa Suppradisten_US
dc.contributor.authorนำพร สามิภักดิ์th_TH
dc.contributor.authorNumporn Samiphuken_US
dc.date.accessioned2019-06-28T02:35:43Z
dc.date.available2019-06-28T02:35:43Z
dc.date.issued2562-06
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 13,2 (เม.ย.-มิ.ย. 2562) : 175-187th_TH
dc.identifier.issn26729415
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/5072
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ต้นทุนการดำเนินงานคลินิกหมอครอบครัว (Primary Care Cluster: PCC) โดยเก็บข้อมูลจากคลินิกหมอครอบครัวในพื้นที่เป้าหมาย 4 จังหวัดๆ ละ 1 แห่ง ตามความพร้อมของพื้นที่ จำแนกเป็น PCC ในเขตเมือง 2 แห่ง และชนบท 2 แห่ง ทำการศึกษาต้นทุนโดยการเก็บข้อมูลย้อนหลัง (retrospective study) ในปี พ.ศ. 2559 และ ปี พ.ศ. 2560 บางส่วน ทั้งนี้ ข้อมูลดังกล่าวประกอบด้วยข้อมูลรายงานทางการเงิน ข้อมูลบริการและภาระงานของบุคลากร จากนั้นนำมาคำนวณต้นทุนรายกิจกรรมและต้นทุนต่อหน่วยด้วยวิธีต้นทุนฐานกิจกรรม (activity-based costing: ABC) ผลการศึกษาพบว่า ภาพรวมของต้นทุนคลินิกหมอครอบครัวส่วนใหญ่เป็นต้นทุนค่าแรง รองลงมาเป็นต้นทุนค่าวัสดุ ต้นทุนค่าลงทุนมีสัดส่วนที่น้อยกว่าต้นทุนอื่นๆ PCC เขตเมืองจะมีสัดส่วนต้นทุนค่าวัสดุสูงกว่า PCC เขตชนบท และต้นทุนบริการเฉลี่ยต่อหัวประชากรเท่ากับ 1,025.21 บาท ข้อสังเกตหนึ่งจากการศึกษาก็คือ PCC ที่ทำการศึกษาทุกแห่งยังคงอยู่ในระหว่างการพัฒนาและปรับระบบบริการเพื่อให้เกิดประโยชน์เต็มที่กับประชาชน ดังนั้น ต้นทุนที่ศึกษาได้นี้อาจเป็นเพียงต้นทุนสำหรับการดำเนินงานเบื้องต้นของ PCC เท่านั้นth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectต้นทุนต่อหน่วยth_TH
dc.subjectUnit Costth_TH
dc.subjectPrimary Health Careth_TH
dc.titleต้นทุนการจัดบริการของคลินิกหมอครอบครัวth_TH
dc.title.alternativeUnit Cost of Services in Primary Care Clusteren_US
dc.typeArticleth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objective of this study was to estimate unit cost of services providing at the primary care cluster (PCC). Four PCCs including two urban and two rural were selected. This study was retrospective study using data from fiscal year 2017 and some data from 2018. Data on financial, services and staff workloads were gathered. Then, unit cost per activity and the unit cost per capita were calculated based on activity-based costing. The result showed that labour cost was the highest cost component in the PCC followed by material cost, whereas, capital cost was the lowest. Material cost in urban PCC was higher than in rural PCC. In addition, average unit cost per capita was 1,025.21 baht. It should be noted that all PCCs in the present study were in the stage of implementing and improving services in order to benefit their people. Therefore, the results described unit cost of initial stage of operation in the PCC.en_US
dc.subject.keywordPrimary Care Clusterth_TH
dc.subject.keywordคลินิกหมอครอบครัวth_TH
.custom.citationขวัญประชา เชียงไชยสกุลไทย, Kwanpracha Chiangchaisakulthai, อุทุมพร วงษ์ศิลป์, Utoomporn Wongsin, กัญจนา ติษยาธิคม, Kanjana Tisayathikom, วาริสา ทรัพย์ประดิษฐ, Warisa Suppradist, นำพร สามิภักดิ์ and Numporn Samiphuk. "ต้นทุนการจัดบริการของคลินิกหมอครอบครัว." 2562. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5072">http://hdl.handle.net/11228/5072</a>.
.custom.total_download1356
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month17
.custom.downloaded_this_year290
.custom.downloaded_fiscal_year39

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hsri-journal-v13n ...
ขนาด: 282.4Kb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

  • Articles [1352]
    บทความวิชาการ

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย