Tuberculosis Vaccines: Importance and Guidelines of Vaccine Study for Tuberculosis Prevention in Thailand
dc.contributor.author | นิธินันท์ มหาวรรณ | th_TH |
dc.contributor.author | Nithinan Mahawan | en_US |
dc.contributor.author | ธีระ วรธนารัตน์ | th_TH |
dc.contributor.author | Thira Woratanarat | en_US |
dc.date.accessioned | 2019-06-28T04:09:35Z | |
dc.date.available | 2019-06-28T04:09:35Z | |
dc.date.issued | 2562-06 | |
dc.identifier.citation | วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 13,2 (เม.ย.-มิ.ย. 2562) : 234-240 | th_TH |
dc.identifier.issn | 26729415 | |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/5077 | |
dc.description.abstract | ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีปัญหาวัณโรคระดับรุนแรง ทั้งวัณโรคทั่วไป วัณโรคและเอดส์ และวัณโรคดื้อยาหลายขนาน ทั้งนี้ อาจเนื่องมาจากการป้องกันและควบคุมวัณโรคทุกระดับยังขาดประสิทธิภาพและประสิทธิผล การใช้วัคซีนเป็นวิธีการหนึ่งในการป้องกันวัณโรคในระดับปฐมภูมิ กระทรวงสาธารณสุขไทยกำหนดให้วัคซีนบีซีจีป้องกันวัณโรคเป็นวัคซีนพื้นฐานที่เด็กแรกเกิดทุกรายควรได้รับ แต่วัคซีนบีซีจีมีข้อจำกัด คือสามารถใช้ป้องกันวัณโรคชนิดรุนแรงในกลุ่มเด็กเท่านั้น แต่ไม่สามารถป้องกันวัณโรคในวัยอื่นๆ ได้ ในปัจจุบัน นักวิจัยทั่วโลกจึงพยายามเร่งคิดค้น พัฒนาวัคซีนป้องกันวัณโรคที่มีประสิทธิภาพครอบคลุมในทุกกลุ่มคนและทุกกลุ่มอายุ โดยแนะนำให้ใช้ควบคู่ไปกับการส่งเสริมสุขภาพและการรักษาวัณโรคที่เหมาะสมกับบริบทของแต่ละสังคม ซึ่งจะเป็นวิธีการที่มีประสิทธิภาพในการควบคุม ป้องกันและลดการระบาดของวัณโรคได้ บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอความสำคัญของวัคซีนป้องกันวัณโรคและแนวทางในการศึกษาวัคซีนวัณโรค โดยหวังว่าจะเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง นักวิจัยและผู้ที่เกี่ยวข้องจะสามารถนำไปประยุกต์ใช้ร่วมกับโปรแกรมการป้องกัน ควบคุมการแพร่กระจายเชื้อวัณโรค เพื่อให้การป้องกันและควบคุมโรคนี้มีประสิทธิภาพมากขึ้นต่อไป | th_TH |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.subject | วัณโรค | th_TH |
dc.subject | Vaccines | th_TH |
dc.subject | BCG Vaccine | th_TH |
dc.subject | Tuberculosis Vaccines | th_TH |
dc.title | วัคซีนป้องกันวัณโรค: ความสำคัญและแนวทางการศึกษาวัคซีนป้องกันวัณโรคในประเทศไทย | th_TH |
dc.title.alternative | Tuberculosis Vaccines: Importance and Guidelines of Vaccine Study for Tuberculosis Prevention in Thailand | en_US |
dc.type | Article | th_TH |
dc.description.abstractalternative | Thailand has high burdens of tuberculosis, tuberculosis with AIDS and multiple drug resistance tuberculosis. This may be due to the lack of efficient and effective tuberculosis prevention and control at all levels. Vaccination against tuberculosis is a primary prevention measure. In Thailand, the Ministry of Public Health has designated BCG as a basic vaccine against tuberculosis that all newborns should receive. But BCG has numerous limitations, it can only prevent against severe tuberculosis in children, but not in others. Nowadays, researchers worldwide are trying to accelerate the development of effective vaccines against tuberculosis for all populations and all age groups for using in parallel with health promotion and disease control measures appropriate to each societal context. This should be an effective and important way to control, prevent and reduce transmission of tuberculosis. The objective of this article aimed to present importance of tuberculosis vaccines and guidelines for studying the vaccines in Thailand. It is expected that this article would benefit interested readers, especially researchers and relevant persons to apply this knowledge along with prevention programs for controlling tuberculosis in the future. | en_US |
.custom.citation | นิธินันท์ มหาวรรณ, Nithinan Mahawan, ธีระ วรธนารัตน์ and Thira Woratanarat. "วัคซีนป้องกันวัณโรค: ความสำคัญและแนวทางการศึกษาวัคซีนป้องกันวัณโรคในประเทศไทย." 2562. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5077">http://hdl.handle.net/11228/5077</a>. | |
.custom.total_download | 5476 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 41 | |
.custom.downloaded_this_year | 680 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 121 |
ผลงานวิชาการเหล่านี้เป็นลิขสิทธิ์ของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข หากมีการนำไปใช้อ้างอิง โปรดอ้างถึงสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในฐานะเจ้าของลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติสงวนลิขสิทธิ์สำหรับการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ |
Fulltext
This item appears in the following Collection(s)
-
Articles [1352]
บทความวิชาการ