Show simple item record

An Evaluation of Management System of the National Health Examination Survey in Thailand

dc.contributor.authorวิไลลักษณ์ แสงศรีth_TH
dc.contributor.authorWilailak Saengsrien_EN
dc.contributor.authorจอมขวัญ โยธาสมุทรth_TH
dc.contributor.authorJomkwan Yothasamuten_EN
dc.contributor.authorศรีเพ็ญ ตันติเวสสth_TH
dc.contributor.authorSripen Tantivessen_EN
dc.date.accessioned2019-09-26T06:27:44Z
dc.date.available2019-09-26T06:27:44Z
dc.date.issued2562-09
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 13,3 (ก.ค. - ก.ย. 2562) : 284-302th_TH
dc.identifier.issn2672-9415
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/5112
dc.description.abstractการสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย (National Health Examination Survey: NHES) ในประเทศไทย เริ่มขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2534 และดำเนินการเรื่อยมาทุก 5 ปี การสำรวจนี้ใช้วิธีการเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง 2 วิธีหลัก ได้แก่ การทดสอบหรือตรวจร่างกายเบื้องต้นและการสัมภาษณ์ตามแบบคำถาม การสำรวจสุขภาพโดยการตรวจร่างกายให้ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับสถานะสุขภาพและปัจจัยเสี่ยงระดับประชากร ซึ่งไม่สามารถหาได้จากแหล่งข้อมูลอื่นๆ ข้อมูลที่ได้จากการสำรวจสุขภาพโดยการตรวจร่างกายสามารถนำมาใช้ในการพัฒนานโยบายส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคและการติดตามตัวชี้วัดและนโยบายด้านสุขภาพ แม้ว่าการสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกายจะดำเนินการมาเป็นเวลา 25 ปีแล้ว แต่ยังไม่มีการประเมินการบริหารจัดการการสำรวจอย่างเป็นระบบ การศึกษานี้เป็นการประเมินระบบบริหารจัดการการสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกายใน 4 ประเด็น ได้แก่ บทบาทของหน่วยงานที่รับผิดชอบ ทรัพยากรที่ใช้ในการสำรวจ การจัดการฐานข้อมูลและการใช้ประโยชน์จากข้อมูลการสำรวจ และประเด็นจริยธรรมการวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการเข้าถึงฐานข้อมูลการสำรวจ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ได้ข้อเสนอแนะสำหรับพัฒนาการสำรวจฯ ในอนาคต การศึกษานี้เก็บข้อมูลโดยการทบทวนเอกสารในช่วงเดือนกันยายน พ.ศ. 2559 ถึงเดือนมกราคม พ.ศ. 2562 และการสัมภาษณ์เชิงลึกที่กระทำต่อแหล่งทุน ผู้บริหารการสำรวจ นักวิจัยผู้ดำเนินการสำรวจ และผู้ใช้ข้อมูลการสำรวจ ตั้งแต่เดือนธันวาคม พ.ศ. 2559 ถึงเดือนเมษายน พ.ศ. 2560 รวมผู้ให้สัมภาษณ์ 26 คน ซึ่งประเด็นการทบทวนวรรณกรรมและคำถามสำหรับการสัมภาษณ์เชิงลึกครอบคลุมการสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกายครั้งที่ 1-5 ผลการศึกษาพบว่า ในการสำรวจครั้งที่ 1-5 มีหลายหน่วยงานเข้ามาเกี่ยวข้องทั้งในฐานะหน่วยงานหลักที่รับผิดชอบการสำรวจฯ แหล่งทุน และคณะกรรมการกำกับทิศทางการสำรวจฯ มีการเปลี่ยนแปลงหน่วยงานหลักที่รับผิดชอบการสำรวจฯ หลายครั้ง และไม่มีนโยบายการดำเนินงานระยะยาวที่ชัดเจน การสำรวจฯ เกือบทุกครั้งได้รายงานข้อจำกัดด้านงบประมาณสำหรับการสำรวจฯ แต่ก็ยังขาดการจัดสรรงบประมาณจากรัฐบาลในระยะยาวและไม่มีแหล่งทุนที่สนับสนุนงบประมาณในระยะยาวด้วย ผู้รับผิดชอบโครงการสำรวจฯ ต้องของบประมาณจากแหล่งทุนเป็นครั้งๆ ไป ด้วยข้อจำกัดดังกล่าวทำให้ไม่เกิดการพัฒนาศักยภาพนักวิจัยและบุคลากรในหน่วยงานที่รับผิดชอบการสำรวจในระยะยาวได้ นอกจากนี้ นโยบายและแนวทางการขอใช้ประโยชน์จากข้อมูลการสำรวจก็ไม่ชัดเจน แม้จะมีการร่างแนวทางการขอใช้ข้อมูลดังกล่าวขึ้นในการสำรวจฯ ครั้งที่ 4 แต่แนวทางดังกล่าวก็ไม่ได้ถูกนำมาปฏิบัติ ทำให้นักวิจัยนอกเครือข่ายการสำรวจเข้าถึงฐานข้อมูลการสำรวจและสิ่งส่งตรวจได้ยาก ส่งผลให้ข้อมูลไม่ถูกนำมาใช้ประโยชน์เท่าที่ควร นอกจากนี้ ยังมีบางประเด็นของการสำรวจสุขภาพประชาชนโดยการตรวจร่างกายที่อาจซ้ำซ้อนกับการสำรวจอื่นๆ ที่ดำเนินการโดยสำนักงานสถิติแห่งชาติและสถาบันการศึกษาต่างๆ โดยใช้งบประมาณจากหน่วยงานเดียวกันกับการสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย ดังนั้นผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องควรพิจารณาการบูรณาการการสำรวจในแง่มุมต่างๆth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectการสำรวจสุขภาพth_TH
dc.subjectอนามัย, การสำรวจth_TH
dc.subjectการตรวจสุขภาพth_TH
dc.titleการประเมินระบบบริหารจัดการการสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกายth_TH
dc.title.alternativeAn Evaluation of Management System of the National Health Examination Survey in Thailanden_EN
dc.typeArticleth_TH
dc.description.abstractalternativeIn Thailand, a series of National Health Examination Surveys (NHES) have been conducted every five years since 1991. The NHES employed two approaches for data collection including basic physical measurements and structured interviews. The NHES exclusively provided objective information on health status and health risks of the population which cannot be obtained from other sources. Consequently, this information has been used for development of health promotion and disease prevention policies as well as for monitoring health indicators and policies. Throughout 25 years of the NHES, no systematic evaluation of the survey’s management has been conducted. The present study evaluated the NHES management system in four areas covering the role of agencies responsible for conducting the NHES; resources used for conducting the NHES; database management and the utilization of the NHES data; and ethical issues related to access to the NHES database with the aim to provide policy recommendations for future developments. The present study collected data through document reviews from September 2016 to January 2019 and in-depth interviews with 26 people including personnel in funding agencies, survey managers, researchers who were part of survey networks and potential data users from December 2016 to April 2017. The scope of literature review and questions for in-depth interview included the NHES I-V. The present study found that NHES I-V involved many agencies in different capacities such as responsible agencies for conducting and managing the survey, funding agencies, and steering committees. There were frequent changes of agencies responsible for conducting NHES reflecting the lack of long-term policies regarding the implementation of NHES. Every NHES reported budget constraints, yet there remained neither budget allocation from the government in the long run nor long-term funding agencies. Hence, the agencies implementing NHES had to propose budget request for each survey. These limitations inhibited long-term capacity building on survey practitioners and institutionalization. Furthermore, policies and guidelines for the utilization of NHES data and other information were vague. Although there was a guideline drafted in the IV NHES, the guideline has not been put into practice making it difficult for researchers outside the NHES networks in getting access to NHES database and specimens, hence NHES data have been under-used. On the other hand, some health issues investigated by the NHES might be duplicated with those of other health surveys conducted by the National Statistical Office or other higher education institutes granted by the same funding agencies as the NHES. Therefore, it is highly suggested that relevant authorities should consider the integration of health surveys at the country level in all aspects.en_EN
.custom.citationวิไลลักษณ์ แสงศรี, Wilailak Saengsri, จอมขวัญ โยธาสมุทร, Jomkwan Yothasamut, ศรีเพ็ญ ตันติเวสส and Sripen Tantivess. "การประเมินระบบบริหารจัดการการสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย." 2562. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5112">http://hdl.handle.net/11228/5112</a>.
.custom.total_download1831
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month25
.custom.downloaded_this_year278
.custom.downloaded_fiscal_year58

Fulltext
Icon
Name: hsri-journal-v13n ...
Size: 332.1Kb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

  • Articles [1352]
    บทความวิชาการ

Show simple item record