Show simple item record

Economic Burden from Providing Care to Migrant Patients: a Case Study of Phaholpolpayuhasena Hospital, Kanchanaburi

dc.contributor.authorรักษ์พงศ์ เวียงเจริญth_TH
dc.contributor.authorRakpong Wiangcharoenen_US
dc.contributor.authorชื่นฤทัย ยี่เขียนth_TH
dc.contributor.authorChuenrutai Yeekianen_US
dc.contributor.authorพรสวรรค์ อัตวินิจตระการth_TH
dc.contributor.authorPornsawan Attavinijtrakarnen_US
dc.contributor.authorระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์th_TH
dc.contributor.authorRapeepong Suphanchaimaten_US
dc.contributor.authorอานนท์ กุลธรรมานุสรณ์th_TH
dc.contributor.authorAnond Kulthanmanusornen_US
dc.contributor.authorสมเจตน์ เหล่าลือเกียรติth_TH
dc.contributor.authorSomjate Laoleukiaten_US
dc.contributor.authorประตาป สิงหศิวานนท์th_TH
dc.contributor.authorPratap Singhasivanonen_US
dc.contributor.authorโมลี วนิชสุวรรณth_TH
dc.contributor.authorMolee Wanichsuwanen_US
dc.contributor.authorโชคชัย ลีโทชวลิตth_TH
dc.contributor.authorChockchai Leethochawaliten_US
dc.contributor.authorพรรณี ปิติสุทธิธรรมth_TH
dc.contributor.authorPunnee Pitisuttithumen_US
dc.date.accessioned2019-09-26T07:54:14Z
dc.date.available2019-09-26T07:54:14Z
dc.date.issued2562-09
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 13,3 (ก.ค. - ก.ย. 2562) : 323-338th_TH
dc.identifier.issn2672-9415
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/5115
dc.description.abstractจังหวัดกาญจนบุรีเป็นหนึ่งในจังหวัดชายแดนที่มีประชากรต่างด้าวอาศัยอยู่หนาแน่น ทำให้โรงพยาบาลพหลพลพยุหเสนาซึ่งเป็นโรงพยาบาลประจำจังหวัดต้องให้การดูแลรักษาผู้ป่วยต่างด้าวจำนวนมากมาอย่างต่อเนื่อง การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ที่จะศึกษาสถานการณ์และผลกระทบของการให้บริการผู้ป่วยต่างด้าวต่อระบบบริการและค่าใช้จ่ายของโรงพยาบาลพหลพลพยุหเสนา โดยเป็นการศึกษาเชิงปริมาณของผู้ป่วยต่างด้าวที่มารักษาในโรงพยาบาลพหลพลพยุหเสนาทั้งผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน ในปีงบประมาณ 2560 เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ ใช้แบบสอบถามและการสืบค้นข้อมูลการมารับบริการย้อนหลัง สุ่มตัวอย่างตามสะดวก มีผู้เข้าร่วมการศึกษาทั้งหมด 519 คน ประกอบด้วยผู้ป่วยนอก 412 คนและผู้ป่วยใน 107 คน โดยในกลุ่มผู้ป่วยนอก 412 คน มี 305 คนที่มารับบริการผู้ป่วยนอกอย่างเดียว และมี 107 คนที่เคยมีประวัติการนอนโรงพยาบาลในช่วงปีที่ผ่านมา ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างผู้ป่วยนอกร้อยละ 18.4 และกลุ่มตัวอย่างผู้ป่วยในร้อยละ 38.3 ไม่มีสิทธิประกันสุขภาพ เมื่อจำแนกผู้ป่วยตามกลุ่มโรคที่มีต้นทุนสูงที่สุดพบว่า ผู้ป่วยกลุ่มโรคมะเร็งมีสัดส่วนสูงที่สุดในกลุ่มตัวอย่างผู้ป่วยนอก [63,459 บาทต่อคนต่อปี (SD 82,872)] และกลุ่มผู้ป่วยโรคติดต่อมีสัดส่วนสูงสุดในกลุ่มตัวอย่างผู้ป่วยใน [43,100 บาทต่อครั้ง (SD 53,384)] ในแง่ต้นทุนค่ารักษาพยาบาลและค่ารักษาพยาบาลตามราคาโรงพยาบาล ผู้ป่วยนอกมีต้นทุนเฉลี่ย 15,757 บาทต่อคนต่อปี ผู้ป่วยในมีต้นทุนเฉลี่ย 35,280 บาทต่อคนต่อครั้ง ของโรงพยาบาลพหลพลพยุหเสนา โรงพยาบาลสมุทรสาคร โรงพยาบาลกระทุ่มแบน และโครงการวิจัย ค่าน้ำหนักสัมพัทธ์ของค่าใช้จ่ายมากกว่าเท่ากับ 2 หน่วยของโรงพยาบาลพหลพลพยุหเสนา โรงพยาบาลสมุทรสาคร โรงพยาบาลกระทุ่มแบน และโครงการวิจัย ร้อยละ 19.2, 5.3, 2.4, และ 23.4 ตามลำดับ ค่าน้ำหนักสัมพัทธ์ของค่าใช้จ่ายมากกว่าเท่ากับ 4 หน่วย ร้อยละ 5.8, 1.9, 1.2, และ 3.7 ตามลำดับ 5 อันดับสูงสุดของกลุ่มโรคผู้ป่วยนอก คือมะเร็ง การบาดเจ็บ โรคไม่ติดต่อ ทารกแรกเกิดที่มีปัญหา และการฝากครรภ์และการคลอด ตามลำดับ 5 อันดับสูงสุดของฝ่ายการแพทย์ที่รับผู้ป่วยใน ได้แก่ อายุรกรรม ศัลยกรรม สูติกรรม ศัลยกรรมกระดูกและกุมารเวชกรรม ตามลำดับ ข้อมูลการศึกษานี้ เป็นตัวอย่างที่สนับสนุนให้มีการพิจารณาเชิงนโยบายเพื่อแก้ปัญหาภาระค่าใช้จ่ายของโรงพยาบาลในจังหวัดชายแดน เช่น การเสนอนโยบายความร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้านในการพัฒนาขีดความสามารถของสถานพยาบาล การทบทวนราคาบัตรประกันสุขภาพต่างด้าวของกระทรวงสาธารณสุขให้เหมาะสมกับต้นทุนการรักษาพยาบาล และที่สำคัญควรมีนโยบายปรับการจัดสรรงบประมาณชดเชยให้แก่สถานพยาบาลในกรณีที่ดูแลคนต่างด้าวและไม่สามารถเรียกเก็บค่าใช้จ่ายได้เพียงพอth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectแรงงานต่างด้าว--บริการทางการแพทย์th_TH
dc.subjectแรงงานต่างด้าว--สุขภาพและอนามัยth_TH
dc.subjectMigrant workerth_TH
dc.subjectMigrant labourth_TH
dc.titleภาระทางเศรษฐกิจจากการดูแลรักษาผู้ป่วยต่างด้าว: กรณีศึกษาโรงพยาบาลพหลพลพยุหเสนา จังหวัดกาญจนบุรีth_TH
dc.title.alternativeEconomic Burden from Providing Care to Migrant Patients: a Case Study of Phaholpolpayuhasena Hospital, Kanchanaburien_US
dc.typeArticleth_TH
dc.description.abstractalternativeKanchanaburi province borders with Myanmar and a large number of migrants are cared for at Phaholpolpayuhasena Hospital. Financial expenses in providing care to migrant patients were analyzed. The study population was inpatients and outpatients at the hospital during fiscal year 2017. Data collection techniques involved a questionnaire, interviews and document reviews of medical records for the previous year. A convenience sampling method was employed. Total sample size was 519 (412 outpatients and 107 inpatients). Of the 412 outpatients, 305 had no admissions during the previous year, while 107 had been admitted in the hospital. The results showed that 18.4% of the outpatients and 38.3% of the inpatients were not medically insured. When classifying patients according to the most costly disease group, cancer comprised the highest proportion in the outpatient sample at 63,459 (SD 82,872) baht per person per year. For communicable diseases, the largest group in the inpatient sample cost 43,100 (SD 53,384) baht per person per year. Costs of medical treatment and expenses, as quoted by the hospital, were averaged at 15,757 baht per person per year for outpatients, with inpatients at 35,280 baht per stay. Results from focus group discussions with various stakeholders showed that expenditures of Phaholpolpayuhasena Hospital, Samutsakhon Hospital, Krathumbaen Hospital, and this research study in terms of relative weight greater than or equal to 2 units were 19.2%, 5.3%, 2.4% and 23.4%, respectively, while in terms of relative weight greater than or equal to 4 units were 5.8%, 1.9%, 1.2% and 3.7%, respectively. The top 5 outpatient diseases were cancer, trauma, non-communicable diseases, neonatal problems, and obstetrics, while the top 5 inpatient medical departments which admitted high numbers of migrant patients were medicine, surgery, obstetrics, orthopedics, and pediatrics, respectively. Results can be used to formulate a support policy to mitigate the cost burdens incurred by hospitals in border provinces. A policy of cooperation with neighboring countries should be proposed by the Ministry of Public Health to develop adequate medical facility capacities and also review the cost of the health insurance card scheme for migrants to reflect the cost of medical treatment. Most importantly, a policy should be implemented to adjust budget allocations to border province hospitals to cover the cost of treating migrant patients.en_US
.custom.citationรักษ์พงศ์ เวียงเจริญ, Rakpong Wiangcharoen, ชื่นฤทัย ยี่เขียน, Chuenrutai Yeekian, พรสวรรค์ อัตวินิจตระการ, Pornsawan Attavinijtrakarn, ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์, Rapeepong Suphanchaimat, อานนท์ กุลธรรมานุสรณ์, Anond Kulthanmanusorn, สมเจตน์ เหล่าลือเกียรติ, Somjate Laoleukiat, ประตาป สิงหศิวานนท์, Pratap Singhasivanon, โมลี วนิชสุวรรณ, Molee Wanichsuwan, โชคชัย ลีโทชวลิต, Chockchai Leethochawalit, พรรณี ปิติสุทธิธรรม and Punnee Pitisuttithum. "ภาระทางเศรษฐกิจจากการดูแลรักษาผู้ป่วยต่างด้าว: กรณีศึกษาโรงพยาบาลพหลพลพยุหเสนา จังหวัดกาญจนบุรี." 2562. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5115">http://hdl.handle.net/11228/5115</a>.
.custom.total_download903
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month15
.custom.downloaded_this_year71
.custom.downloaded_fiscal_year125

Fulltext
Icon
Name: hsri-journal-v13n ...
Size: 336.8Kb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

  • Articles [1334]
    บทความวิชาการ

Show simple item record