Show simple item record

Frequency and Associated Factors of Hypoglycemic Symptoms and Fear of Hypoglycemia in Elderly Patient with Type 2 Diabetes at Primary Care Unit of Songklanagarind Hospital

dc.contributor.authorชนากานต์ ชัยธนกุลth_TH
dc.contributor.authorChanakarn Chaitanakulen_US
dc.contributor.authorนฤชา โกมลสุรเดชth_TH
dc.contributor.authorNarucha Komolsuradejen_US
dc.date.accessioned2019-09-26T08:03:47Z
dc.date.available2019-09-26T08:03:47Z
dc.date.issued2562-09
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 13,3 (ก.ค. - ก.ย. 2562) : 312-322th_TH
dc.identifier.issn2672-9415
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/5117
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการรับรู้และความพึงพอใจของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่อระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขตบริการสุขภาพที่ 10 สุ่มตัวอย่างอย่างง่าย รวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มผู้รับบริการจำนวน 294 คน อายุระหว่าง 15-77 ปี ผู้ให้บริการจำนวน 304 คน อายุระหว่าง 22 - 59 ปี การรับรู้ด้านสิทธิหลักประกันสุขภาพแห่งชาติของกลุ่มผู้ให้บริการและผู้รับบริการอยู่ในระดับมาก – มากที่สุด ส่วนความพึงพอใจของผู้ให้บริการและผู้รับบริการต่อระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติพบว่าอยู่ในระดับมากที่สุด ข้อเสนอแนะคือ ควรเพิ่มการส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค การเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาลข้ามเขตควรให้เขตดำเนินการเอง งบประมาณกองทุนควรโอนเข้าโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ควรอบรมการใช้ระเบียบปฏิบัติที่เกี่ยวข้องและการบริหารจัดการกองทุนให้แก่บุคลากรในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นวัตถุประสงค์: เพื่อหาความถี่และปัจจัยที่เกี่ยวข้องของอาการน้ำตาลต่ำในเลือด และความกลัวภาวะน้ำตาลต่ำในเลือด ในผู้สูงอายุที่ป่วยด้วยโรคเบาหวานชนิดที่สอง ที่มารับบริการในหน่วยบริการปฐมภูมิ โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ ระเบียบวิธีศึกษา: งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาแบบภาคตัดขวาง ในผู้ป่วยด้วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 อายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป ระหว่างเดือนกรกฎาคม - ตุลาคม 2560 ที่หน่วยบริการปฐมภูมิ โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ ทำการสัมภาษณ์ข้อมูลทั่วไป ลักษณะทางคลินิก และอาการน้ำตาลต่ำในเลือดในช่วงเวลา 1 เดือนที่ผ่านมา และวัดความกลัวภาวะน้ำตาลต่ำในเลือดโดยใช้แบบสอบถาม Hypoglycemia Fear Survey ฉบับแปลภาษาไทย การศึกษาวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่เกี่ยวข้องและอาการน้ำตาลต่ำในเลือดด้วยสถิติการถดถอยโลจิสติก ผลการศึกษา: ผู้เข้าร่วมวิจัยจำนวนทั้งสิ้น 160 คน มีอายุเฉลี่ย 68.6 ± 6.1 ปี เป็นเพศหญิงร้อยละ 53.8 ระยะเวลาในการเป็นโรคเบาหวานเฉลี่ย 10.5 ± 6.4 ปี, มีภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวานร้อยละ 57.5 HbA1c เฉลี่ย 7.5 ± 1.8% พบผู้ป่วยที่มีอาการน้ำตาลต่ำในเลือดร้อยละ 30 ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับอาการน้ำตาลต่ำในเลือด ได้แก่ การมีภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวาน (aOR = 2.75; 95% CI 1.23 - 6.14; p = 0.012) การใช้ยา glipizide (aOR = 5.03; 95% CI 1.99 - 12.71; p < 0.001) และค่าระดับน้ำตาลในเลือด (aOR = 0.97; 95% CI 0.96 - 0.99; p < 0.001) พบคะแนนเฉลี่ยของความกลัวภาวะน้ำตาลต่ำในเลือดเท่ากับ 16.9 ± 16 นอกจากนี้คะแนนรวมเฉลี่ยของความกลัวภาวะน้ำตาลต่ำในเลือด และคะแนนเฉลี่ยด้านความกังวล มีค่าสูงกว่าในกลุ่มที่มีความถี่ของอาการน้ำตาลต่ำในเลือดที่มากกว่าสองครั้งต่อเดือนเปรียบเทียบกับกลุ่มที่มีความถี่ 1-2 ครั้งต่อเดือนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p = 0.006 and 0.002) สรุป: การเกิดอาการน้ำตาลต่ำในเลือดเป็นสิ่งที่พบได้ในผู้สูงอายุโรคเบาหวานชนิดที่สอง ซึ่งปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับอาการน้ำตาลต่ำในเลือด ได้แก่ การมีภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวาน และการใช้ยา glipizide นอกจากนี้ความถี่ของอาการน้ำตาลต่ำในเลือดที่มากขึ้นส่งผลต่อความกลัวภาวะน้ำตาลต่ำในเลือด ดังนั้น การดูแลและป้องกันภาวะน้ำตาลต่ำในเลือดในผู้สูงอายุโรคเบาหวานจึงเป็นสิ่งสำคัญth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isoenth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectเบาหวานth_TH
dc.subjectDiabetesth_TH
dc.subjectHypoglycemiath_TH
dc.subjectน้ำตาลพร่องในเลือดth_TH
dc.subjectผู้สูงอายุth_TH
dc.subjectAge Groupsth_TH
dc.titleความถี่และปัจจัยที่เกี่ยวข้องของอาการน้ำตาลต่ำในเลือด และความกลัวภาวะน้ำตาลต่ำในเลือด ในผู้สูงอายุโรคเบาหวานชนิดที่สอง ณ หน่วยบริการปฐมภูมิ โรงพยาบาลสงขลานครินทร์th_TH
dc.title.alternativeFrequency and Associated Factors of Hypoglycemic Symptoms and Fear of Hypoglycemia in Elderly Patient with Type 2 Diabetes at Primary Care Unit of Songklanagarind Hospitalen_US
dc.typeArticleth_TH
dc.description.abstractalternativeObjective: To determine the frequency of symptomatic hypoglycemia and its associated factors and fear of hypoglycemia in a population of elderly patient with type 2 diabetes at primary care unit of Songklanagarind Hospital. Methodology: This cross-sectional study was conducted from July to October 2018 at primary care unit of Songklanagarind Hospital. The participants aged 60 and older with type 2 diabetes were included. The socio-demographic characteristic questionnaire was interviewed by a researcher or research assistants. Baseline clinical data, included body weight, height, underlying disease, duration of diabetes, complications of diabetes (diabetic retinopathy, diabetic nephropathy, cerebrovascular, peripheral vascular, neurovascular and diabetic foot complication), HbA1c, fasting plasma glucose, type and dose of glucose lowering drugs, were reviewed from the hospital information system (HIS). The participants were asked on their experiences of hypoglycemic symptoms in the previous month. Fear of hypoglycemia was measured by the Thai version of Hypoglycemia Fear Survey (HFS) covering behavior subscale (HFS-B) and worry subscale (HFS-W). The higher scores indicate higher fear of hypoglycemia. Chi-square, Wilcoxon, and Fisher tests were applied to study significant variables. Logistic regression analyses were performed to evaluate the associations between associated factors and hypoglycemic symptoms. Results: Overall, 160 participants were involved (mean age 68.6 ± 6.1 years, 53.8% females, diabetes duration of 10.5 ± 6.4 years, 57.5% diabetic complications, 7.5 ± 1.8% HbA1c), of whom 30% reported hypoglycemic symptoms. The associated factors of hypoglycemic symptoms were diabetic complications (aOR = 2.75; 95% CI 1.23 - 6.14; p = 0.012), glipizide use (aOR = 5.03; 95% CI 1.99 - 12.71; p < 0.001) and fasting plasma glucose (aOR = 0.97; 95% CI 0.96 - 0.99; p < 0.001). The mean of hypoglycemia fear survey score was 16.9 ± 16. The score on the fear of hypoglycemia (HFS) and worry subscale (HFS-W) for the patients with more frequent hypoglycemia episodes in the previous month (>2 episodes) was significantly greater than another group (1-2 episodes) (p = 0.006 and 0.002), indicating a greater degree of fear of hypoglycemia in the first group. Conclusion: The occurrence of symptoms of hypoglycemia is one of complications in the elderly with type 2 diabetes and their presence is associated with complications of diabetes and glipizide use. Frequent symptoms can have a negative impact on fear of hypoglycemia. Minimizing the risk of hypoglycemia represents a high priority in the diabetes treatment of the elderly people.en_US
.custom.citationชนากานต์ ชัยธนกุล, Chanakarn Chaitanakul, นฤชา โกมลสุรเดช and Narucha Komolsuradej. "ความถี่และปัจจัยที่เกี่ยวข้องของอาการน้ำตาลต่ำในเลือด และความกลัวภาวะน้ำตาลต่ำในเลือด ในผู้สูงอายุโรคเบาหวานชนิดที่สอง ณ หน่วยบริการปฐมภูมิ โรงพยาบาลสงขลานครินทร์." 2562. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5117">http://hdl.handle.net/11228/5117</a>.
.custom.total_download1927
.custom.downloaded_today3
.custom.downloaded_this_month28
.custom.downloaded_this_year94
.custom.downloaded_fiscal_year202

Fulltext
Icon
Name: hsri-journal-v13n ...
Size: 286.7Kb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

  • Articles [1334]
    บทความวิชาการ

Show simple item record