Cost Analysis of HIV/AIDS Outpatient Service in Thailand
dc.contributor.author | อุทุมพร วงษ์ศิลป์ | th_TH |
dc.contributor.author | Utoomporn Wongsin | th_TH |
dc.contributor.author | ดิชพงศ์ พงศ์ภัทรชัย | th_TH |
dc.contributor.author | Dichapong Pongpattrachai | th_TH |
dc.date.accessioned | 2019-12-25T07:10:57Z | |
dc.date.available | 2019-12-25T07:10:57Z | |
dc.date.issued | 2562-12 | |
dc.identifier.citation | วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 13,4 (ต.ค. - ธ.ค. 2562) : 410-419 | th_TH |
dc.identifier.issn | 2672-9415 | |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/5132 | |
dc.description.abstract | การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาต้นทุนการให้บริการผู้ป่วยนอกแก่ผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ในโรงพยาบาล โดยทำการศึกษาในโรงพยาบาลกลุ่มเป้าหมายจำนวน 7 แห่ง โดยศึกษาข้อมูลย้อนหลังในปีงบประมาณ 2559 ประกอบด้วยข้อมูลบริการ สถิติของโรงพยาบาลที่เกี่ยวข้อง และข้อมูลค่าใช้จ่าย และคำนวณต้นทุนบริการตามคู่มือการศึกษาต้นทุนของกระทรวงสาธารณสุขและปรับใช้อัตราส่วนค่าใช้จ่ายต่อรายได้ (cost to charge ratio) ในการคำนวณต้นทุนผู้ป่วยนอกในระดับผู้ป่วยรายบุคคล ผลการศึกษา พบว่า ต้นทุนค่าบุคลากรเป็นต้นทุนการให้บริการที่สูงที่สุด (ค่าเฉลี่ยร้อยละ 52) รองมาคือ ค่าวัสดุ (ค่าเฉลี่ยร้อยละ 42) และต้นทุนการใช้สินทรัพย์ (ค่าเฉลี่ยร้อยละ 6) เมื่อพิจารณาต้นทุนเฉลี่ยต่อครั้งแยกตามสิทธิการรักษาพยาบาล พบว่า ต้นทุนเฉลี่ยต่อครั้งของการบริการผู้ป่วยโรคเอดส์ที่ใช้สิทธิสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ สูงที่สุด คือ 2,401 บาท รองมาคือสิทธิหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ต้นทุนเฉลี่ยต่อครั้ง 1,778 บาท และผู้ป่วยสิทธิประกันสังคมมีต้นทุนเฉลี่ยต่อครั้ง 1,658 บาท ขณะที่ผู้ป่วยจ่ายเงินเองมีต้นทุนเฉลี่ยต่อครั้ง 803 บาท นอกจากนี้ เมื่อพิจารณาต้นทุนเฉลี่ยต่อคนต่อปีแยกตามสิทธิการรักษาพยาบาล พบว่าต้นทุนเฉลี่ยต่อคนต่อปีของการรักษาผู้ป่วยสิทธิสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการสูงที่สุด คือ 12,305 บาท รองมาคือ สิทธิหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า คือ 9,483 บาท และสิทธิประกันสังคม คือ 7,197 บาท ขณะที่สิทธิผู้ป่วยจ่ายเงินเองมีต้นทุนเฉลี่ยการให้บริการต่อคน 1,570 บาท ทั้งนี้ ข้อจำกัดของการศึกษานี้คือมีข้อมูลต้นทุนของโรงพยาบาลกลุ่มเป้าหมายเพียง 7 แห่งที่คัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจงและมีโรงพยาบาลศูนย์เพียงแห่งเดียวซึ่งอาจไม่สามารถเป็นตัวแทนที่ดีในแต่ละประเภทโรงพยาบาลได้ ดังนั้น การศึกษาครั้งต่อไปควรเพิ่มจำนวนโรงพยาบาลเพื่อให้สามารถเป็นตัวแทนของโรงพยาบาลในแต่ละประเภทได้ | th_TH |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.subject | HIV/AIDS | th_TH |
dc.subject | ผู้ติดเชื้อเอชไอวี | th_TH |
dc.subject | โรคเอดส์ | th_TH |
dc.subject | ต้นทุนต่อหน่วย | th_TH |
dc.subject | Unit Cost | th_TH |
dc.title | ต้นทุนการให้บริการผู้ป่วยนอกผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ของประเทศไทย | th_TH |
dc.title.alternative | Cost Analysis of HIV/AIDS Outpatient Service in Thailand | th_TH |
dc.type | Article | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objective of this study was to estimate outpatient cost of HIV/AIDs services provided at hospitals. The cost data for fiscal year 2015 were gathered from seven hospitals; the data consist of hospital service statistics and financial information. Then, cost per visit was analyzed as cost-to-charge ratio using a traditional method following the cost guideline of the Ministry of Public Health. The results show that majority of service cost was of labor followed by material and capital cost, amounting to 52%, 42%, and 6%, respectively. The study found that an average cost per visit of the civil servant medical benefit (CS) patients was the highest at THB 2,401. An average cost per visit of the universal coverage (UC) patients was THB 1,778. An average cost per visit of the social security (SS) patients was THB 1,658; and an average cost per visit of out-of-pocket (OOP) patients was THB 803. In terms of an average annual cost per person, the study found that the CS patients also had the highest cost at THB 12,305. The second highest was the UC patients at THB 9,483 per person per year and the third was the SS patients at THB 7,197. The OOP patients incurred the lowest annual cost per person at THB 1,570. However, it should be noted that these seven hospitals were selected by purposive sampling with limitation on representation. More hospitals should be involved in further research to represent actual cost by hospital types. | th_TH |
.custom.citation | อุทุมพร วงษ์ศิลป์, Utoomporn Wongsin, ดิชพงศ์ พงศ์ภัทรชัย and Dichapong Pongpattrachai. "ต้นทุนการให้บริการผู้ป่วยนอกผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ของประเทศไทย." 2562. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5132">http://hdl.handle.net/11228/5132</a>. | |
.custom.total_download | 1765 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 24 | |
.custom.downloaded_this_year | 308 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 49 |
ผลงานวิชาการเหล่านี้เป็นลิขสิทธิ์ของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข หากมีการนำไปใช้อ้างอิง โปรดอ้างถึงสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในฐานะเจ้าของลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติสงวนลิขสิทธิ์สำหรับการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ |
Fulltext
This item appears in the following Collection(s)
-
Articles [1352]
บทความวิชาการ