Obesity in Physician
dc.contributor.author | ปริชมน พันธุ์ติยะ | th_TH |
dc.contributor.author | Parichamon Puntiya | en_US |
dc.date.accessioned | 2020-03-31T03:48:35Z | |
dc.date.available | 2020-03-31T03:48:35Z | |
dc.date.issued | 2563-03-31 | |
dc.identifier.citation | วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 14,1 (ม.ค. - มี.ค. 2563) : 19-25 | th_TH |
dc.identifier.issn | 2672-9415 | |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/5186 | |
dc.description.abstract | ปัจจุบัน โรคอ้วนเป็นปัญหาสำคัญทั้งของโลกและในประเทศไทย ดังจะเห็นได้จากความชุกของโรคอ้วนที่เพิ่มมากขึ้นทุกๆ ปี แม้ว่าแพทย์จะเป็นอาชีพที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการดูแลสุขภาพของประชาชน แต่กลับพบว่าแพทย์ที่มีภาวะน้ำหนักเกินมีมากถึงร้อยละ 40 และครึ่งหนึ่งของแพทย์ที่มีภาวะน้ำหนักเกินนั้น คิดว่าตนเองมีน้ำหนักที่ปกติ โดยที่มีปัจจัยหลายอย่างที่เกี่ยวข้องกับน้ำหนักที่เพิ่มขึ้น เช่น ความเครียด การทำงานเข้าเวร อาหารที่มีพลังงานสูง การออกกำลังกายที่ลดลง ซึ่งปัจจัยเหล่านี้พบได้มากในผู้ที่กำลังเรียนต่อแพทย์ประจำบ้าน ซึ่งความอ้วนของแพทย์นี้สามารถส่งผลมาถึงผู้ป่วย อันเนื่องมาจากผลกระทบต่อกระบวนการดูแลรักษาและประสิทธิภาพในการรักษาของแพทย์ ดังนั้น ปัญหาความอ้วนในแพทย์จึงเป็นปัญหาที่ต้องให้ความสำคัญและหาทางแก้ไขเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่จะเกิดขึ้นตามมาได้ในอนาคต | th_TH |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.subject | Physicians | th_TH |
dc.subject | โรคอ้วน | th_TH |
dc.subject | Obesity | th_TH |
dc.subject | แพทย์ประจำบ้าน | th_TH |
dc.subject | การดูแลสุขภาพ | th_TH |
dc.subject | พฤติกรรมสุขภาพ | th_TH |
dc.title | โรคอ้วนในวิชาชีพแพทย์ | th_TH |
dc.title.alternative | Obesity in Physician | en_US |
dc.type | Article | th_TH |
dc.description.abstractalternative | Obesity is a globally and locally important problem as can be seen from the increasing prevalence every year. Physician is an occupation directly related to people’s healthcare. However, 40% of physicians are overweight. Half of the overweight physicians think that they are at normal weight. There are many contributing factors for weight gain such as stress, shift work, high calorie food intake and low workout. These factors are usually found in residents. Obesity may directly and indirectly affect patients through patient care process and competency. Therefore, the obesity problem among physicians must be emphasized and alleviated in order to prevent further complications. | en_US |
.custom.citation | ปริชมน พันธุ์ติยะ and Parichamon Puntiya. "โรคอ้วนในวิชาชีพแพทย์." 2563. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5186">http://hdl.handle.net/11228/5186</a>. | |
.custom.total_download | 11604 | |
.custom.downloaded_today | 1 | |
.custom.downloaded_this_month | 190 | |
.custom.downloaded_this_year | 2163 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 450 |
ผลงานวิชาการเหล่านี้เป็นลิขสิทธิ์ของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข หากมีการนำไปใช้อ้างอิง โปรดอ้างถึงสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในฐานะเจ้าของลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติสงวนลิขสิทธิ์สำหรับการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ |
Fulltext
This item appears in the following Collection(s)
-
Articles [1352]
บทความวิชาการ