Show simple item record

An Evaluation of Awareness and Preparedness on Infectious and Emerging Diseases at the Cross Border Areas; Thailand - Myanmar - Cambodia – Lao PDR Project in the Fiscal year 2015-2017

dc.contributor.authorพิษณุรักษ์ กันทวีth_TH
dc.contributor.authorPhitsanuruk Kanthaweeen_US
dc.contributor.authorหทัยชนก ศิริวัฒนกุลth_TH
dc.contributor.authorHathaichanok Siriwattanakulen_US
dc.contributor.authorจตุพงศ์ สิงหราไชยth_TH
dc.contributor.authorChatubhong Singharachaien_US
dc.contributor.authorพิณ ศรีดุรงคธรรมth_TH
dc.contributor.authorPin Sridurongkathamen_US
dc.contributor.authorสุภาพร ตรงสกุลth_TH
dc.contributor.authorSupaporn Trongsakulen_US
dc.contributor.authorพรรณนิภา ดอกไม้งามth_TH
dc.contributor.authorPanipha Dokmaingamen_US
dc.contributor.authorอมรรัตน์ อนุวัฒน์นนทเขตต์th_TH
dc.contributor.authorAmornrat Anuwatnonthakateen_US
dc.contributor.authorอ่อน ลายเงินth_TH
dc.contributor.authorOnn Laingoenen_US
dc.contributor.authorพิศิษฏ์ คุณวโรตม์th_TH
dc.contributor.authorPisit Kunavaroteen_US
dc.date.accessioned2020-03-31T04:17:07Z
dc.date.available2020-03-31T04:17:07Z
dc.date.issued2563-03-31
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 14,1 (ม.ค. - มี.ค. 2563) : 51-61th_TH
dc.identifier.issn2672-9415
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/5189
dc.description.abstractความเป็นมา ประเทศไทย มีอาณาเขตติดกับประเทศเพื่อนบ้านคือ สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว และราชอาณาจักรกัมพูชา ซึ่งมีการอพยพเคลื่อนย้ายของประชากรสูง มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคติดต่อตามแนวพรมแดนและการเกิดโรคอุบัติใหม่จากการเคลื่อนย้ายของประชากร ในขณะที่ระบบเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรค ยังไม่ครอบคลุมทุกพื้นที่ รวมถึงยังไม่ได้มาตรฐาน คือไม่ครอบคลุมทั้ง 5 ระบบ และมีข้อมูลไม่ครบทั้ง 5 มิติ ทำให้ไม่สามารถนำข้อมูลไปแก้ไขปัญหาเพื่อป้องกันและควบคุมโรคได้อย่างยั่งยืน ดังนั้น กรมความร่วมมือระหว่างประเทศจึงได้สนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการสร้างความตระหนักและเตรียมความพร้อมสำหรับโรคติดต่อและโรคอุบัติใหม่ตามแนวพรมแดนไทย – ราชอาณาจักรกัมพูชา – สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว - สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาแก่จังหวัดในพื้นที่ชายแดน 5 จังหวัดนำร่องระหว่างปี 2558-2560 วัตถุประสงค์ของการศึกษานี้ เพื่อประเมินผลการดำเนินงานโครงการฯ หลังสิ้นสุดโครงการฯ เพื่อให้ได้ข้อมูลสำหรับประกอบการตัดสินใจในการสนับสนุนงบประมาณระยะที่ 2 และเพื่อให้ได้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการปรับปรุงโครงการให้บรรลุเป้าหมายด้วย วิธีการศึกษา เป็นการวิจัยประเมินผล (evaluation research) ที่ใช้เครื่องมือทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ คือใช้แบบสอบถามทดสอบความรู้ การสัมภาษณ์เชิงลึกและการสนทนากลุ่มย่อย ประยุกต์เครื่องมือจากแนวคิดการประเมินผลลัพธ์โครงการตามแบบซิปป์โมเดล (CIPP) คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบจำเพาะเจาะจง (purposive sampling) จำนวน 5 กลุ่ม คือ คณะผู้บริหารที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงาน เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน อาสาสมัครสาธารณสุข ประชาชนทั่วไป และกลุ่มแรงงานต่างด้าว ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานโครงการ ในพื้นที่คู่ขนานกับประเทศเพื่อนบ้าน จำนวน 6 พื้นที่ชายแดนที่ติดกับสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว และราชอาณาจักรกัมพูชา วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเป็นร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เชิงคุณภาพเป็นการวิเคราะห์เชิงเนื้อหาตีความและใช้การสอบทานแบบสามเส้า ผลการศึกษา พบว่าจังหวัดตากมีคะแนนผลการทดสอบความรู้เฉลี่ยสูงสุด รองลงมาคือนครหลวงเวียงจันทน์ จังหวัดหนองคาย จังหวัดเชียงรายและอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) มีคะแนนผลการทดสอบความรู้เฉลี่ยสูงสุด รองลงมาคืออาสาสมัครสาธารณสุขขั้นบ้าน (อสบ.) พนักงานสุขภาพชุมชนชายแดน (พสชช.) และผู้ผ่านการอบรมในโครงการเฝ้าระวังควบคุมป้องกันโรคติดต่อและโรคอุบัติใหม่ ตามลำดับ ส่วนผลลัพธ์ตามรูปแบบ CIPP model นั้น พบว่า ด้านบริบท (context) มีการจัดทำโครงการและกิจกรรมได้ตามแผนและได้รับการสนับสนุนและความร่วมมือที่ดี ทั้งสามพื้นที่ คือไทย - ลาว ไทย – กัมพูชา และไทย - เมียนมา ด้านปัจจัยนำเข้า (input) บุคลากรทั้งสามพื้นที่ปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ขณะที่ในพื้นที่ชายแดนไทย - เมียนมาบางส่วนยังขาดการสนับสนุนงบประมาณและอุปกรณ์ ด้านกระบวนการ (process) ทั้งสามพื้นที่มีกระบวนการและแนวทางในการดำเนินงานที่ดี ด้านผลลัพธ์ (product) ทั้งสามพื้นที่มีการพัฒนาระบบป้องกันและควบคุมโรคทั้งในระดับจังหวัดและระดับอำเภออย่างเหมาะสมตามบริบทของพื้นที่ สรุปและข้อเสนอแนะ ผลการดำเนินงานในพื้นที่สามพรมแดนนั้น ได้มีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์การทำงานระหว่างกัน โดยพบว่า แต่ละพื้นที่มีรูปแบบการทำงานที่โดดเด่นแตกต่างกันไป เช่น การมีส่วนร่วมระดับชุมชนเมืองคู่ขนานที่จังหวัดหนองคาย การใช้ยุทธศาสตร์เขื่อนกั้นปัญหาสุขภาพระหว่างสองฝั่งประเทศในจังหวัดตาก การพัฒนาระบบการส่งต่อผู้ป่วยระหว่างประเทศที่จังหวัดอุบลราชธานีและจังหวัดเชียงราย การดำเนินการตามกรอบยุทธศาสตร์ความร่วมมือด้านการพัฒนาศักยภาพบุคลากรในจังหวัดสระแก้ว ทั้งนี้ มีข้อคิดเห็นว่า การพัฒนาระบบสุขภาพชายแดนให้ยั่งยืนได้นั้น จะต้องได้รับการสนับสนุนในเชิงนโยบายจากผู้บริหาร ทั้งในระดับกระทรวงและในระดับพื้นที่ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในการเฝ้าระวังควบคุมโรคติดต่อและโรคอุบัติใหม่th_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectโรคติดต่อth_TH
dc.subjectโรคติดต่อ--การป้องกันและควบคุมth_TH
dc.subjectโรคติดต่อ--ระบาดวิทยาth_TH
dc.subjectโรคระบาดth_TH
dc.subjectInfectious Diseaseth_TH
dc.subjectEmerging Infectious Diseasesth_TH
dc.titleการประเมินผลโครงการสร้างความตระหนักและเตรียมความพร้อมสำหรับโรคติดต่อและโรคอุบัติใหม่ตามแนวพรมแดนไทย – ราชอาณาจักรกัมพูชา – สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว - สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา ปีงบประมาณ 2558 - 2560th_TH
dc.title.alternativeAn Evaluation of Awareness and Preparedness on Infectious and Emerging Diseases at the Cross Border Areas; Thailand - Myanmar - Cambodia – Lao PDR Project in the Fiscal year 2015-2017en_US
dc.typeArticleth_TH
dc.description.abstractalternativeBackground: As the north of Thailand is bordered to Myanmar and Laos, and the east to Laos and Cambodia, the high migration of populations between border areas leading to a high risk of an outbreak of contagious diseases and emerging diseases due to people’s migration. The surveillance system of disease control and prevention at border areas did not entirely cover and reach the standard in five systems as well as lacking information in all five dimensions. In order to improve surveillance system of disease control and prevention at border areas, Thailand International Cooperation Agency (TICA) launched a pilot project in five provinces from 2015 to 2018 to build up awareness and preparedness for better border health. Objectives: To evaluate outcomes of the project and lesson learnt from work systems in the study areas. The results will be used to make a decision for budget support in the second phase and to investigate the factors related to the processes for successful project. Methods: This study was an evaluation research design by using both quantitative and qualitative methods consisting of questionnaire, focus group and group discussion. The study tools were developed to cover the CIPP model. The data were obtained from purposive sampling in five groups of people covering board of directors, public health staff, Thai public health volunteers, non-Thai health volunteers (border countries), stakeholders and immigrant workers in the six parallel border areas. The data were analyzed by using percentage, mean, standard deviation (descriptive study) and by content analysis and triangulation (qualitative study). Results: The quantitative study showed that Tak province had the highest overall knowledge scores at 16.07, followed by Vientiane, Nong Khai, and Chiang Rai, respectively. For the knowledge of health volunteers, the village health volunteers showed the highest knowledge scores (the first rank) while the home health volunteers, border community health workers and lay people after training in the surveillance and disease control and prevention were ranked in the second, third, fourth, respectively. The results by CIPP model revealed that the outcomes from the project were completely processed from context and policy and received a great support from Thai – Laos - Cambodia border areas. For the input factors, all personnel demonstrated an effective working and operation from all border areas, however the lack of budget and equipment was still the weak process in the three border areas. Product part, all borders developed the processes for surveillance system of disease control and prevention at both provincial and district levels based on the context of each area. Conclusion: The outcomes of the operation in three border areas varied upon the context and extent of experiences exchanges among volunteers, health workers and health providers in both provincial and district levels through co-learning and sharing as well as integrating their work with other organizations. Good cooperation between communities at parallel border areas was strong at Nong Khai province; health strategy was prominent in both border areas in Tak province; patient referral systems were established in Chiang Rai and Ubon Ratchathani provinces between two borders; and strategic personnel development was formed at Sa Kaeo province. In order to improve border health care system in a sustainable way, the crucial key components include intensive support and policy from the executive committee at ministry and local areas to effectively guiding the working in a timely manner on the strategy of emerging diseases and surveillance system of disease control and prevention at cross border areas.en_US
dc.subject.keywordโรคอุบัติใหม่th_TH
.custom.citationพิษณุรักษ์ กันทวี, Phitsanuruk Kanthawee, หทัยชนก ศิริวัฒนกุล, Hathaichanok Siriwattanakul, จตุพงศ์ สิงหราไชย, Chatubhong Singharachai, พิณ ศรีดุรงคธรรม, Pin Sridurongkatham, สุภาพร ตรงสกุล, Supaporn Trongsakul, พรรณนิภา ดอกไม้งาม, Panipha Dokmaingam, อมรรัตน์ อนุวัฒน์นนทเขตต์, Amornrat Anuwatnonthakate, อ่อน ลายเงิน, Onn Laingoen, พิศิษฏ์ คุณวโรตม์ and Pisit Kunavarote. "การประเมินผลโครงการสร้างความตระหนักและเตรียมความพร้อมสำหรับโรคติดต่อและโรคอุบัติใหม่ตามแนวพรมแดนไทย – ราชอาณาจักรกัมพูชา – สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว - สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา ปีงบประมาณ 2558 - 2560." 2563. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5189">http://hdl.handle.net/11228/5189</a>.
.custom.total_download834
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month16
.custom.downloaded_this_year48
.custom.downloaded_fiscal_year83

Fulltext
Icon
Name: hsri-journal-v14n ...
Size: 283.4Kb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

  • Articles [1326]
    บทความวิชาการ

Show simple item record