dc.contributor.author | สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์ | th_TH |
dc.contributor.author | Samrit Srithamrongsawat | th_TH |
dc.contributor.author | ไพบูลย์ สุริยะวงศ์ไพศาล | th_TH |
dc.contributor.author | Paibul Suriyawongpaisal | th_TH |
dc.contributor.author | วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย | th_TH |
dc.contributor.author | Vorasith Sornsrivichai | th_TH |
dc.contributor.author | สันติ ลาภเบญจกุล | th_TH |
dc.contributor.author | Santi Lapbenjakul | th_TH |
dc.contributor.author | ดวงดาว ศรียากูล | th_TH |
dc.contributor.author | Duangdao Sriyakun | th_TH |
dc.date.accessioned | 2020-05-21T09:08:12Z | |
dc.date.available | 2020-05-21T09:08:12Z | |
dc.date.issued | 2563-03 | |
dc.identifier.other | hs2561 | |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/5210 | |
dc.description.abstract | โครงการวิจัยดำเนินการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิแบบบูรณาการและยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบการจัดบริการแบบบูรณาการและยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง (Integrated People-Centered Health Services) พัฒนาเครื่องมือสนับสนุนการดำเนินการและประเมินผลลัพธ์การดำเนินการ (Implementation Outcomes) โครงการนี้ดำเนินการในพื้นที่เครือข่ายบริการสุขภาพปฐมภูมิหรือคลินิกหมอครอบครัว (Primary Care Cluster: PCC) จำนวน 20 แห่ง และเริ่มทดลองใช้รูปแบบใหม่ในการให้บริการตั้งแต่เดือนสิงหาคม 2562 การวิจัยอาศัยรูปแบบการวิจัยแบบผสมผสานทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ ประกอบด้วยการทบทวนวรรณกรรม การสัมภาษณ์เชิงลึก สนทนากลุ่ม และการสำรวจประสบการณ์การได้รับบริการของผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงพื้นที่ละ 200 ตัวอย่าง ผลการประเมินระยะแรกพบว่า เครือข่ายบริการปฐมภูมิในโครงการวิจัยสามารถจัดบริการตามแนวคิดและรูปแบบการจัดบริการแบบบูรณาการโดยยึดประชาชนเป็นศูนย์กลางได้ดีกว่าหน่วยบริการอื่นในพื้นที่เดียวกันทั้งด้านการสร้างปฏิสัมพันธ์ระหว่างทีมสุขภาพและประชาชน การทำแผนการดูแลรายบุคคลอย่างมีส่วนร่วม การมีข้อมูลสุขภาพรายบุคคล การพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพและระบบสนับสนุนการบริหารจัดการตนเองของผู้ป่วยและความต่อเนื่องและประสานบริการ อย่างไรก็ดี ยังมีช่องว่างที่ต้องพัฒนาอีกมากในด้านการสร้างปฏิสัมพันธ์ระหว่างทีมสุขภาพและประชาชน และการพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพและระบบสนับสนุนการบริหารจัดการตนเองของผู้ป่วย และควรมีการวิจัยดำเนินการในระยะต่อไปเพื่อพัฒนาและประเมินผลลัพธ์บริการ (Health Service Outcomes) | th_TH |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.subject | บริการปฐมภูมิ | th_TH |
dc.subject | Primary Health Care | th_TH |
dc.subject | ระบบบริการสาธารณสุข | th_TH |
dc.subject | ระบบบริการสุขภาพ | th_TH |
dc.subject | Health Services | th_TH |
dc.subject | บริการทางการแพทย์ | th_TH |
dc.subject | ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) | th_TH |
dc.subject | Health Services Administration | th_TH |
dc.title | การวิจัยดำเนินการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิแบบบูรณาการและยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง | th_TH |
dc.title.alternative | An Implementation research program on development of Integrated People-centered Primary Care System (IPCPCS) in Thailand | th_TH |
dc.type | Technical Report | th_TH |
dc.description.abstractalternative | An Implementation research program on development of Integrated People-centered Primary Care System (IPCPCS) in Thailand aims to redesign health services at primary care level to be an integrated-people centered health care and develop tools to support the implement in addition to evaluation on implementation outcomes. The program has been implementing in 20 piloted primary care clusters (PCC) and started to implement the new model since August 2019. The program employed mixed research methods including literature review, in-depth interview, focus group discussion, and a survey of 200 patients with diabetes and hypertension from each PCC on chronic care experiences. Initial assessment found that PCC under the research program performed better than other health facilities in the same areas in all components of integrated people-centered care (patient and family health team relationship, shared individual care plan, personal health record, health literacy and self-management support, and continuity and coordination). However, there is room needed for further improvement especially on patient and family care team relationship and health literacy and self-management support. Further implementation research is needed for further development and evaluation of service outcomes. | th_TH |
dc.identifier.callno | W84.6 ส616ก 2563 | |
dc.identifier.contactno | 62-028 | |
.custom.citation | สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์, Samrit Srithamrongsawat, ไพบูลย์ สุริยะวงศ์ไพศาล, Paibul Suriyawongpaisal, วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย, Vorasith Sornsrivichai, สันติ ลาภเบญจกุล, Santi Lapbenjakul, ดวงดาว ศรียากูล and Duangdao Sriyakun. "การวิจัยดำเนินการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิแบบบูรณาการและยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง." 2563. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5210">http://hdl.handle.net/11228/5210</a>. | |
.custom.total_download | 381 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 3 | |
.custom.downloaded_this_year | 109 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 10 | |