Show simple item record

Screening and treatment of obstructive sleep apnea in High-Risk Pregnancy: A multicenter randomized controlled trial

dc.contributor.authorวิสาข์สิริ ตันตระกูลth_TH
dc.contributor.authorVisasiri Tantrakulth_TH
dc.contributor.authorอัมรินทร์ ทักขิญเสถียรth_TH
dc.contributor.authorAmmarin Thakkinstianth_TH
dc.contributor.authorอรุณวรรณ พฤทธิพันธุ์th_TH
dc.contributor.authorAroonwan Preutthipanth_TH
dc.contributor.authorอติพร อิงค์สาธิตth_TH
dc.contributor.authorAtiporn Ingsathitth_TH
dc.contributor.authorพัญญู พันธุ์บูรณะth_TH
dc.contributor.authorPanyu Panburanath_TH
dc.contributor.authorสมประสงค์ เหลี่ยมสมบัติth_TH
dc.contributor.authorSomprasong Liamsombutth_TH
dc.contributor.authorสุรศักดิ์ จันทรแสงอร่ามth_TH
dc.contributor.authorSurasak Jantarasaengaramth_TH
dc.contributor.authorศิวพร เลิศพงษ์พิรุฬห์th_TH
dc.contributor.authorSiwaporn Lertpongpiroonth_TH
dc.contributor.authorประพันธ์ กิตติวรวิทย์กุลth_TH
dc.contributor.authorPrapun Kittivoravitkulth_TH
dc.contributor.authorณัฏฐพล อิ่มสม-สมบูรณ์th_TH
dc.contributor.authorNutthaphon Imsom-Somboonth_TH
dc.contributor.authorพุ่มพวง จิรากุลth_TH
dc.contributor.authorPoompoung Chirakoolth_TH
dc.contributor.authorวรกต สุวรรณสถิตย์th_TH
dc.contributor.authorWorakot Suwansathitth_TH
dc.contributor.authorเจนจิรา เพ็งแจ่มth_TH
dc.contributor.authorJanejira Pengjamth_TH
dc.contributor.authorนงลักษณ์ ทับประทุมth_TH
dc.contributor.authorNongluck Thappratoomth_TH
dc.contributor.authorสุกัญญา ศิริโยธาth_TH
dc.contributor.authorSukanya Siriyothath_TH
dc.date.accessioned2020-06-08T07:53:56Z
dc.date.available2020-06-08T07:53:56Z
dc.date.issued2563
dc.identifier.otherhs2571
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/5217
dc.description.abstractข้อมูลการศึกษาที่ผ่านมาพบว่าภาวะนอนกรนและหยุดหายใจขณะหลับขณะตั้งครรภ์จะนำไปสู่ภาวะแทรกซ้อนทางสูติกรรม เช่น ความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ ครรภ์เป็นพิษ เบาหวานขณะตั้งครรภ์และทารกคลอดก่อนกำหนดและมีข้อมูลว่าการรักษาด้วยเครื่องช่วยหายใจแรงดันบวก (Continuous Positive Airway Pressure; CPAP) ในสตรีตั้งครรภ์ความเสี่ยงสูงที่มีภาวะนอนกรนและหยุดหายใจขณะหลับนี้จะสามารถป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนได้โดยเฉพาะในสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะอ้วน ความดันโลหิตสูงเรื้อรังและมีประวัติภาวะครรภ์เป็นพิษในครรภ์ สตรีตั้งครรภ์ที่มีความเสี่ยงสูงเหล่านี้จึงควรได้รับการประเมินคัดกรองความผิดปกติของการนอนหลับ โดยมีหลักฐานสนับสนุนกลไกทางสรีรวิทยาที่การรักษาโรคนอนกรนและหยุดหายใจขณะหลับขณะตั้งครรภ์ด้วย CPAP น่าจะได้ผลดี อย่างไรก็ตามปัจจุบันนี้ยังไม่มีแนวทางที่เป็นมาตรฐานการคัดกรองและรักษาภาวะนี้ขณะตั้งครรภ์เนื่องจากมีข้อมูลการศึกษาน้อยมาก การตรวจคัดกรองและให้การรักษาภาวะนอนกรนและหยุดหายใจขณะหลับจึงเป็นภาวะ “Clinical Equipoise” ซึ่งต้องการการศึกษาวิจัยที่มีน้ำหนักหลักฐานเชิงประจักษ์สูง ดังนั้นจึงมีความจำเป็นรีบด่วนที่จะต้องดำเนินการวิจัยแบบสุ่มการรักษาเพื่อศึกษาประสิทธิผลของการรักษาด้วย CPAP ดังในการศึกษานี้th_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectสตรีมีครรภ์th_TH
dc.subjectภาวะหยุดหายใจขณะหลับth_TH
dc.subjectกลุ่มอาการหายใจหยุดช่วงหลับth_TH
dc.subjectการนอนหลับผิดปกติth_TH
dc.subjectการกรนth_TH
dc.subjectการนอนกรนth_TH
dc.subjectการบริการสุขภาพ (Health Service Delivery)th_TH
dc.titleการตรวจคัดกรองโรคนอนกรนและหยุดหายใจขณะหลับในหญิงตั้งครรภ์ความเสี่ยงสูงและการรักษาด้วยเครื่องช่วยหายใจแรงดันบวก การรักษาแบบสุ่มตัวอย่างในต่างโรงพยาบาลth_TH
dc.title.alternativeScreening and treatment of obstructive sleep apnea in High-Risk Pregnancy: A multicenter randomized controlled trialth_TH
dc.typeTechnical Reportth_TH
dc.description.abstractalternativeAccumulating data indicate that obstructive sleep apnea is an independent risk for gestational hypertension, preeclampsia, gestational diabetes, and preterm delivery. Preliminary studies demonstrated the benefits of early nasal continuous positive airway pressure (CPAP) treatment in high risk pregnant women to prevent adverse maternal and fetal outcomes. Highrisk pregnant women such as those with obesity, chronic hypertension and prior history of preeclamsia should be evaluated for diagnosis and treatment of sleep-disordered breathing given the potential benefit of early CPAP treatment. The pathophysiological evidence linking preeclampsia and sleep-disordered breathing supported the rationale for CPAP treatment in addition to conventional antenatal care. However, currently there is no standard guideline that systematically screens and treats for sleep-disordered breathing during pregnancy. The situation of sleep-disordered breathing is in the state of “clinical equipoise”, where strong evidence is needed to make any treatment recommendation during pregnancy. It is an urgent need to conduct a randomized controlled trial that can demonstrate the efficacy of CPAP treatment.th_TH
dc.identifier.callnoWF143 ว777ก 2563
dc.identifier.contactno61-054
.custom.citationวิสาข์สิริ ตันตระกูล, Visasiri Tantrakul, อัมรินทร์ ทักขิญเสถียร, Ammarin Thakkinstian, อรุณวรรณ พฤทธิพันธุ์, Aroonwan Preutthipan, อติพร อิงค์สาธิต, Atiporn Ingsathit, พัญญู พันธุ์บูรณะ, Panyu Panburana, สมประสงค์ เหลี่ยมสมบัติ, Somprasong Liamsombut, สุรศักดิ์ จันทรแสงอร่าม, Surasak Jantarasaengaram, ศิวพร เลิศพงษ์พิรุฬห์, Siwaporn Lertpongpiroon, ประพันธ์ กิตติวรวิทย์กุล, Prapun Kittivoravitkul, ณัฏฐพล อิ่มสม-สมบูรณ์, Nutthaphon Imsom-Somboon, พุ่มพวง จิรากุล, Poompoung Chirakool, วรกต สุวรรณสถิตย์, Worakot Suwansathit, เจนจิรา เพ็งแจ่ม, Janejira Pengjam, นงลักษณ์ ทับประทุม, Nongluck Thappratoom, สุกัญญา ศิริโยธา and Sukanya Siriyotha. "การตรวจคัดกรองโรคนอนกรนและหยุดหายใจขณะหลับในหญิงตั้งครรภ์ความเสี่ยงสูงและการรักษาด้วยเครื่องช่วยหายใจแรงดันบวก การรักษาแบบสุ่มตัวอย่างในต่างโรงพยาบาล." 2563. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5217">http://hdl.handle.net/11228/5217</a>.
.custom.total_download42
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year12
.custom.downloaded_fiscal_year0

Fulltext
Icon
Name: hs2571.pdf
Size: 2.552Mb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record