แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

วิธีวิเคราะห์ต้นทุนรายโรคสำหรับประเทศไทย: วิธีต้นทุนจุลภาค

dc.contributor.authorอรทัย เขียวเจริญth_TH
dc.contributor.authorOrathai Khiaocharoenth_TH
dc.contributor.authorชัยโรจน์ ซึงสนธิพรth_TH
dc.contributor.authorChairoj Zungsontipornth_TH
dc.contributor.authorธันวา ขัติยศth_TH
dc.contributor.authorTanwa Khattiyodth_TH
dc.contributor.authorเยาวลักษณ์ แหวนวงษ์th_TH
dc.contributor.authorYaowaluk Wanwongth_TH
dc.contributor.authorชลธิดา ใบม่วงth_TH
dc.contributor.authorCholthida Baimuangth_TH
dc.contributor.authorศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัยth_TH
dc.contributor.authorSupasit Pannarunothaith_TH
dc.date.accessioned2020-06-30T05:23:58Z
dc.date.available2020-06-30T05:23:58Z
dc.date.issued2563-06-30
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 14,2 (เม.ย. - มิ.ย. 2563) : 156-174th_TH
dc.identifier.issn2672-9415
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/5226
dc.description.abstractบทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอวิธีการวิเคราะห์ต้นทุนรายโรคสำหรับประเทศไทย และศึกษาต้นทุนกิจกรรมบริการ ต้นทุนรายโรค และต้นทุนรายกลุ่มวินิจฉัยโรคร่วม (diagnosis related group, DRG) โดยวิเคราะห์ต้นทุนในมุมมองของผู้ให้บริการ ใช้วิธีการวิเคราะห์ต้นทุนการบริการทางการแพทย์แบบมาตรฐาน (standard costing method) และการวิเคราะห์ต้นทุนรายผู้ป่วยด้วยวิธีต้นทุนจุลภาคหรือจากล่างขึ้นบน (micro-costing or bottom-up approach) คำนวณต้นทุนกิจกรรมจากบริการทางการแพทย์ที่ผู้ป่วยแต่ละรายได้รับระหว่างการมารับบริการที่โรงพยาบาลทั้งแบบผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน ใช้ข้อมูลจากโรงพยาบาลศูนย์ 4 แห่ง โรงพยาบาลทั่วไป 1 แห่ง โรงพยาบาลชุมชน 7 แห่ง และโรงพยาบาลเฉพาะทาง 1 แห่ง รวม 13 แห่ง ศึกษาข้อมูลปีงบประมาณ 2561 (ต.ค. 2560 ถึง ก.ย. 2561) วิธีการวิเคราะห์ต้นทุนรายโรค จำแนกเป็น ก) การคาดประมาณต้นทุนโรงพยาบาลและต้นทุนรายหน่วยต้นทุน ด้วยวิธี top-down costing ตามมาตรฐาน 4 ขั้นตอน คือ (1) การกำหนดหน่วยต้นทุน (2) คำนวณต้นทุนทางตรงของหน่วยต้นทุน (3) การจัดสรรต้นทุนทางอ้อม (4) การคำนวณต้นทุนรวมของหน่วยรับต้นทุน และ ข) การคำนวณต้นทุนแบบ bottom-up จำแนกเป็น (1) คำนวณต้นทุนรายกิจกรรมในแต่ละกลุ่มการบริการด้วยวิธีที่หลากหลาย (2) คำนวณต้นทุนผู้ป่วยรายบุคคล คำนวณต้นทุนผู้ป่วยรายโรคและต้นทุนรายกลุ่มวินิจฉัยโรคร่วมไทย ฉบับ 6.2 ผลการศึกษา ต้นทุนรายกิจกรรม เช่น ต้นทุนค่าห้องและค่าอาหารเตียงสามัญเฉลี่ย 377 บาทต่อวันนอน, ค่าห้อง intensive care unit (ICU) มีต้นทุนเฉลี่ย 930 บาทต่อวัน, ต้นทุนบริการพยาบาลผู้ป่วยนอกเฉลี่ย 252 บาทต่อครั้ง, ต้นทุนค่าบริการพยาบาลผู้ป่วยในทั่วไปเฉลี่ย 1,055 บาทต่อวัน, และต้นทุนค่าบริการพยาบาลผู้ป่วยใน ICU เท่ากับ 4,245 บาทต่อวัน, ต้นทุนยา metformin เฉลี่ยต่อเม็ดเท่ากับ 0.35 บาท, ต้นทุนการตรวจ HbA1C เฉลี่ยต่อ test เท่ากับ 126 บาท ฯลฯ ต้นทุนการรักษาผู้ป่วยโรคเบาหวานเฉลี่ย 1,676 บาทต่อครั้ง, โดยโรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลทั่วไปมีต้นทุน 1,951 บาทต่อครั้ง, โรงพยาบาลชุมชนขนาดใหญ่ (M) มีต้นทุน 1,114 บาทต่อครั้ง, และโรงพยาบาลชุมชนขนาดเล็ก (F) มีต้นทุน 929 บาทต่อครั้ง, ต้นทุนผู้ป่วยในเฉลี่ยต่อการนอนโรงพยาบาล กลุ่ม DRG 15540 Newborn admission weight >2499 gm เท่ากับ 3,847 บาท, กลุ่ม DRG 14010 Cesarean delivery เท่ากับ 18,478 บาท, กลุ่ม DRG 06570 Infectious gastroenteritis age > 9 โรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลทั่วไป มีต้นทุนเฉลี่ย 9,601 บาทต่อราย, โรงพยาบาลชุมชนขนาด M มีต้นทุนเฉลี่ย 7,772 บาทต่อราย, และโรงพยาบาลชุมชนขนาด F มีต้นทุนเฉลี่ย 8,176 บาทต่อราย ข้อเสนอแนะ วิธีการวิเคราะห์ต้นทุนมาตรฐานแบบละเอียดในการศึกษานี้จะเป็นประโยชน์ในการคำนวณต้นทุนรายกิจกรรมและต้นทุนรายบุคคล เป็นประโยชน์ต่อนโยบายการจัดสรรงบประมาณให้สะท้อนต้นทุนที่แท้จริงของโรงพยาบาล และเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาการเก็บข้อมูลต้นทุนบริการของระบบหลักประกันสุขภาพต่างๆ ของประเทศไทยในอนาคตต่อไปth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectต้นทุนต่อหน่วยth_TH
dc.subjectUnit Costth_TH
dc.subjectMedical Careth_TH
dc.subjectบริการทางการแพทย์th_TH
dc.titleวิธีวิเคราะห์ต้นทุนรายโรคสำหรับประเทศไทย: วิธีต้นทุนจุลภาคth_TH
dc.title.alternativeUnit Cost per Disease Methodology for Thailand: Micro-Costing Methodth_TH
dc.typeArticleth_TH
dc.description.abstractalternativeThis report presents a brief technical methodology on unit cost per disease and cost per diagnosis related group (DRG) for Thailand. Cost analysis was on provider perspective. Standard costing method and micro-costing or bottom-up approach were employed. The process started with cost per activity estimation, patient-level costing, disease costing, and DRG costing. Cost data were voluntarily collected from 13 hospitals. They were 4 regional hospitals, 1 general hospital, 7 community hospitals, and 1 specialty hospital. All data were for the fiscal year 2018 (October 2017 to September 2018). Results were presented into two parts, cost methodology prototype and cost per disease and cost per DRG. Cost analyses consisted of 2 major processes. They were hospital cost and cost center analysis using top-down costing method, and cost per disease using bottom-up method. Top-down costing included 4 steps 1) cost center identification, 2) direct cost determination, 3) indirect cost determination, and 4) total cost determination. The bottom-up costing was composed of 1) unit cost per service activity, 2) patient level costing, and finally, costs of each patient were summed up as cost per disease of outpatient visit and cost by Thai DRG version 6.2. The study also demonstrated that cost per activity such as an average bed-day (room and board) cost for common ward was 377 baht, for intensive care unit was 930 baht. An average outpatient nursing service cost was 252 baht per visit, inpatient nursing service cost was 1,055 baht per bed-day, ICU nursing service was 4,245 baht per bed-day. Metformin drug was 0.35 baht per tablet, and HbA1C was 126 baht per test. Average cost of outpatient treatment for diabetes mellitus was 1,676 baht per visit: 1,951 baht per visit for regional hospital, 1,114 baht for big community hospital, and 929 baht for small community hospital. The total cost per admission was 3,847 baht for DRG 15540 newborn admission weight >2499 gm, 18,478 baht for DRG 14010 cesarean delivery. Costs of admission among hospital levels were still different even for common DRG 06570 infectious gastroenteritis age > 9: 9,601 baht per admission for regional hospital, 7,772 baht for big community hospital, and 8,176 baht for small community hospital. This paper demonstrated that the expanded standard cost methodology development on cost per activity estimation at patient level would be useful for studying costs of service provision of all health insurance systems in Thailand.th_TH
.custom.citationอรทัย เขียวเจริญ, Orathai Khiaocharoen, ชัยโรจน์ ซึงสนธิพร, Chairoj Zungsontiporn, ธันวา ขัติยศ, Tanwa Khattiyod, เยาวลักษณ์ แหวนวงษ์, Yaowaluk Wanwong, ชลธิดา ใบม่วง, Cholthida Baimuang, ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย and Supasit Pannarunothai. "วิธีวิเคราะห์ต้นทุนรายโรคสำหรับประเทศไทย: วิธีต้นทุนจุลภาค." 2563. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5226">http://hdl.handle.net/11228/5226</a>.
.custom.total_download1660
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month18
.custom.downloaded_this_year445
.custom.downloaded_fiscal_year55

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hsri-journal-v14n ...
ขนาด: 1.719Mb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

  • Articles [1352]
    บทความวิชาการ

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย