การมีส่วนร่วมของประชาชนในการอภิบาลระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
dc.contributor.author | กมลวรรณ เขียวนิล | th_TH |
dc.contributor.author | Kamonwan Kiewnin | th_TH |
dc.contributor.author | สมธนึก โชติช่วงฉัตรชัย | th_TH |
dc.contributor.author | Somtanuek Chotchoungchatchai | th_TH |
dc.contributor.author | คนางค์ คันธมธุรพจน์ | th_TH |
dc.contributor.author | Kanang Kantamaturapoj | th_TH |
dc.contributor.author | อณิกา อิสลาม มาแชล | th_TH |
dc.contributor.author | Aniqa Islam Marshall | th_TH |
dc.contributor.author | วลัยพร พัชรนฤมล | th_TH |
dc.contributor.author | Walaiporn Patcharanarumol | th_TH |
dc.contributor.author | วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร | th_TH |
dc.contributor.author | Viroj Tangcharoensathien | th_TH |
dc.date.accessioned | 2020-09-30T03:02:48Z | |
dc.date.available | 2020-09-30T03:02:48Z | |
dc.date.issued | 2563-09-30 | |
dc.identifier.citation | วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 14,3 (ก.ค. - ก.ย. 2563) : 274-288 | th_TH |
dc.identifier.issn | 2672-9415 | |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/5246 | |
dc.description.abstract | การมีส่วนร่วมของประชาชนในการตัดสินใจระดับนโยบายเป็นองค์ประกอบที่สำคัญของหลักธรรมาภิบาล พระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2545 ได้เปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการอภิบาลระบบ ตามมาตรา 13(4) และ มาตรา 48(8) ที่กำหนดให้มีภาคประชาชนเป็นกรรมการในคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติและในคณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานบริการสาธารณสุข บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์การดำเนินการเพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วมของประชาชนในการอภิบาลระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติและผลจากการดำเนินการ โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพด้วยการทบทวนวรรณกรรมและการสัมภาษณ์เชิงลึกกับผู้ให้ข้อมูลหลักจำนวน 10 คน ผลการศึกษาพบว่า ภาคประชาชนมีบทบาทในการอภิบาลระบบใน 3 บทบาท ได้แก่ 1) มีส่วนร่วมในการตัดสินใจเชิงนโยบายผ่านกรรมการในคณะกรรมการฯ 2) สนับสนุนการตัดสินใจของคณะกรรมการฯ ผ่านกรรมการในคณะอนุกรรมการฯ และคณะทำงานต่างๆ และ 3) เชื่อมโยงการทำงานในบริบทของคณะกรรมการฯ อนุกรรมการฯ ต่างๆ กับกลุ่มผู้เกาะติดประเด็นปัญหาระดับรากหญ้า ผ่านเครือข่ายภาคประชาชน ผลการดำเนินการของภาคประชาชนดังกล่าว สามารถผลักดันชุดสิทธิประโยชน์ และความเป็นเจ้าของระบบหลักประกันฯ ของภาคประชาชนในการเฝ้าระวัง ปกป้อง ส่งเสริมและสนับสนุนระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติให้เกิดประโยชน์ต่อประชาชนอย่างต่อเนื่องด้วยความมั่นคงและยั่งยืน การมีส่วนร่วมของภาคประชาชนที่มีลักษณะก้าวหน้ากว่าที่ระบุไว้ในข้อกฎหมายเกิดจากการเปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการอภิบาลระบบ และความเป็นพลเมืองที่ตื่นรู้ของภาคประชาชนที่ตอบสนองต่อพื้นที่การมีส่วนร่วมที่เขียนไว้ในข้อกฎหมายได้อย่างเต็มศักยภาพ | th_TH |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.subject | การมีส่วนร่วมของประชาชน | th_TH |
dc.subject | หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ | th_TH |
dc.subject | การบริหารสาธารณสุข | th_TH |
dc.title | การมีส่วนร่วมของประชาชนในการอภิบาลระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ | th_TH |
dc.title.alternative | Citizen Participation in Governing Thailand’s Universal Health Coverage Scheme | th_TH |
dc.type | Article | th_TH |
dc.description.abstractalternative | Citizen participation in policy decision making process is a key component of good governance. The National Health Security Act (NHSA) 2002 deliberately provides legal space for civic participation in governing the Universal Coverage Scheme (UCS). Articles 13(4) and 48(8) mandate the representation of civil society organizations (CSO) as members in the National Health Security Board and the Quality and Standard Board. This paper aimed to analyze the processes and outcomes of citizen indirect participation in Thai UC Scheme through CSO representation in UCS governance. Qualitative research method was employed. Literature review and in-depth interviews with 10 informants were conducted. The study found that CSO representatives actively participated through three functions of the UCS governance: 1) participating in decision making and governance through representation as committee members, 2) supporting the decision making process through representation as sub-committee members appointed by the two committees, and 3) interlinking between CSO representatives in the two committees and various sub-committees and the broad-based CSO networks at grass root level, for which problems and concerns are seamlessly transmitted from local to policy decisions (at UCS governance) which ensure effectiveness of the UCS. The outcomes of CSO contributions included successful expansion of services in the benefits package and building public ownership of the UCS through surveillance, protect, promote and support the implementation of the UCS for the benefit of people. Citizen participation, which has advanced beyond legislative provision, was the result of policy space that allowed citizens to indirectly engage (through CSO representative) in the governing body and the active citizenship has maximized the use of policy space provided by the Law. | th_TH |
.custom.citation | กมลวรรณ เขียวนิล, Kamonwan Kiewnin, สมธนึก โชติช่วงฉัตรชัย, Somtanuek Chotchoungchatchai, คนางค์ คันธมธุรพจน์, Kanang Kantamaturapoj, อณิกา อิสลาม มาแชล, Aniqa Islam Marshall, วลัยพร พัชรนฤมล, Walaiporn Patcharanarumol, วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร and Viroj Tangcharoensathien. "การมีส่วนร่วมของประชาชนในการอภิบาลระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ." 2563. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5246">http://hdl.handle.net/11228/5246</a>. | |
.custom.total_download | 1008 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 23 | |
.custom.downloaded_this_year | 346 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 84 |
ผลงานวิชาการเหล่านี้เป็นลิขสิทธิ์ของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข หากมีการนำไปใช้อ้างอิง โปรดอ้างถึงสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในฐานะเจ้าของลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติสงวนลิขสิทธิ์สำหรับการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ |
ฉบับเต็ม
ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้
-
Articles [1352]
บทความวิชาการ