Information Technology for Emergency Medical System (ITEMS): A Study of its Use and Problems
dc.contributor.author | ภาวิตา เลาหกุล | th_TH |
dc.contributor.author | Pavita Laohakul | th_TH |
dc.contributor.author | บวร วิทยชำนาญกุล | th_TH |
dc.contributor.author | Borwon Wittayachamnankul | th_TH |
dc.contributor.author | คัมภีร์ สรวมสิริ | th_TH |
dc.contributor.author | Kamphee Sruamsiri | th_TH |
dc.contributor.author | ปริญญา เทียนวิบูลย์ | th_TH |
dc.contributor.author | Parinya Tianwibool | th_TH |
dc.date.accessioned | 2020-09-30T03:58:46Z | |
dc.date.available | 2020-09-30T03:58:46Z | |
dc.date.issued | 2563-09-30 | |
dc.identifier.citation | วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 14,3 (ก.ค. - ก.ย. 2563) : 344-356 | th_TH |
dc.identifier.issn | 2672-9415 | |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/5251 | |
dc.description.abstract | ภูมิหลังและเหตุผล การรักษาผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลที่ล่าช้าและไม่เหมาะสมอาจทำให้ผู้ป่วยอาการแย่ลงได้ การใช้โปรแกรม ITEMS (information technology for emergency medical system) ก่อนรับผู้ป่วย ช่วยให้เลือกชุดปฏิบัติการฉุกเฉินเหมาะสมและลดระยะเวลาสั่งการได้ ปัจจุบันยังไม่มีข้อมูลการใช้และปัญหาการใช้โปรแกรม ITEMS วัตถุประสงค์ เพื่อสำรวจปัญหาและอุปสรรคของการใช้โปรแกรม ITEMS ในการคัดแยกและจัดลำดับการจ่ายงานบริบาลผู้ป่วย ระเบียบวิธีศึกษา การวิจัยเชิงสำรวจภาคตัดขวาง ส่งแบบสอบถามถึงเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานในศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการจังหวัดในเขตสุขภาพที่ 1 ระหว่างวันที่ 1 พฤศจิกายน ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2560 ผลการศึกษา ข้อมูลที่เข้าเกณฑ์ในการศึกษา 114 คน อายุเฉลี่ย 36.5 ปี เป็นเพศหญิงร้อยละ 65.8 ใช้โปรแกรมและลงข้อมูลในโปรแกรมทันทีร้อยละ 36.0 ใช้โปรแกรมแต่ลงข้อมูลในภายหลังร้อยละ 36.8 ไม่ใช้โปรแกรมร้อยละ 26.3 กลุ่มที่ไม่ใช้โปรแกรมใช้ประสบการณ์ของตนแทนร้อยละ 83.3 สาเหตุของการไม่ใช้โปรแกรมคือจำนวนเจ้าหน้าที่ไม่เพียงพอร้อยละ 70.0 การใช้โปรแกรมใช้เวลานานร้อยละ 46.7 สาเหตุหลักของกลุ่มที่ใช้โปรแกรมแต่ลงข้อมูลย้อนหลัง คือ จำนวนเจ้าหน้าที่ไม่เพียงพอร้อยละ 92.9 การใช้โปรแกรมใช้เวลานานร้อยละ 40.5 และไม่พบปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกใช้โปรแกรมและการลงข้อมูลย้อนหลัง สรุปผลการศึกษา เจ้าหน้าที่ส่วนน้อยที่ใช้โปรแกรมและลงข้อมูลทันที เหตุผลหลักที่ไม่ใช้โปรแกรมคือจำนวนเจ้าหน้าที่ไม่เพียงพอและต้องใช้เวลานานในการใช้โปรแกรม การกำหนดอัตรากำลังให้เหมาะสมกับภาระงาน การพัฒนาโปรแกรม ITEMS และการฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ให้มีความรู้ ความชำนาญจะทำให้การคัดแยกและจัดลำดับการจ่ายงานโดยใช้โปรแกรม ITEMS มีประสิทธิภาพสูงขึ้น | th_TH |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.subject | การพยาบาลฉุกเฉิน | th_TH |
dc.subject | ภาวะฉุกเฉิน--การพยาบาล | th_TH |
dc.subject | การจัดการภาวะฉุกเฉิน | th_TH |
dc.title | ปัญหาและอุปสรรคของการใช้โปรแกรมรับแจ้งเหตุและสั่งการการแพทย์ฉุกเฉินในการคัดแยกและจัดลำดับการจ่ายงาน | th_TH |
dc.title.alternative | Information Technology for Emergency Medical System (ITEMS): A Study of its Use and Problems | th_TH |
dc.type | Article | th_TH |
dc.description.abstractalternative | Background: ITEMS (information technology for emergency medical system) is a software program designed to help emergency medical dispatchers identify the level of emergency condition and assign proper response team to the scene. Objective: This study aimed to explore uses and problems related to ITEMS. Method: This was a cross-sectional survey research. Questionnaires were sent to the emergency medical personnel working in emergency dispatch centers in Health Region 1 from 1st November 2017 to 31st December 2017. Result: A total of 114 questionnaires were returned. Mean age was 36.5 years, and 65.8% were female. In all, 36.0% of the emergency medical personnel used ITEMS promptly, 36.8% used ITEMS in delayed data recording mode, and 26.3% did not use at all. For those who did not use ITEMS, 83.3% used their own experience, 70.0% gave the reason of staff shortage and 46.7% said the program took too long to finish. Among those who used ITEMS with delayed data recording, 92.9% explained staff shortage, and 40.5% too long to finish data recording. No factors were found to be associated with the decision to use ITEMS or the use in delay mode. Conclusion: Not many emergency medical personnel used ITEMS due to shortage of staff and long duration to complete the program. Improvement of ITEMS program and adequate staffing were recommended to solve the problem. | th_TH |
.custom.citation | ภาวิตา เลาหกุล, Pavita Laohakul, บวร วิทยชำนาญกุล, Borwon Wittayachamnankul, คัมภีร์ สรวมสิริ, Kamphee Sruamsiri, ปริญญา เทียนวิบูลย์ and Parinya Tianwibool. "ปัญหาและอุปสรรคของการใช้โปรแกรมรับแจ้งเหตุและสั่งการการแพทย์ฉุกเฉินในการคัดแยกและจัดลำดับการจ่ายงาน." 2563. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5251">http://hdl.handle.net/11228/5251</a>. | |
.custom.total_download | 2397 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 1 | |
.custom.downloaded_this_year | 122 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 264 |
![]() | ผลงานวิชาการเหล่านี้เป็นลิขสิทธิ์ของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข หากมีการนำไปใช้อ้างอิง โปรดอ้างถึงสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในฐานะเจ้าของลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติสงวนลิขสิทธิ์สำหรับการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ |
Fulltext
This item appears in the following Collection(s)
-
Articles [1366]
บทความวิชาการ