Show simple item record

An analysis on access to essential medicines in Thailand: the issues of policy incoherence

dc.contributor.authorชุติมา อรรคลีพันธุ์th_TH
dc.contributor.authorChutima Akaleephanth_TH
dc.contributor.authorกมลวรรณ เขียวนิลth_TH
dc.contributor.authorKamonwan Kiewninth_TH
dc.contributor.authorจีรภา โสสมth_TH
dc.contributor.authorJeerapa Sosomth_TH
dc.contributor.authorมินตรา หงษ์ธำรงth_TH
dc.contributor.authorMintar Hongtumrongth_TH
dc.date.accessioned2020-11-23T05:46:44Z
dc.date.available2020-11-23T05:46:44Z
dc.date.issued2563-10
dc.identifier.otherhs2603
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/5269
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานการณ์ความไม่สอดคล้องของนโยบายที่เกี่ยวเนื่องกับการเข้าถึงยาจำเป็นในประเทศไทย โดยใช้วิธีการวิเคราะห์ความสอดคล้องของนโยบาย (policy coherence analysis) ซึ่งเริ่มจากการรวบรวมนโยบายและกฎระเบียบที่เกี่ยวข้องทั้งหมด จัดทำห่วงโซ่คุณค่ายาที่เหมาะสมกับประเทศไทยหารือผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและผู้แทนหน่วยงานที่รับผิดชอบแต่ละนโยบาย รวมถึงการวิเคราะห์เนื้อหาสำคัญของนโยบาย โดยที่กลุ่มนโยบายที่สนใจคือ สุขภาพ การค้าและเศรษฐกิจ และพิจารณาประเด็นทั้งที่สอดคล้องและไม่สอดคล้อง ช่องว่างของประเด็นที่พบและนำเสนอเพื่อให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและผู้เชี่ยวชาญให้ความเห็นในขั้นตอนสุดท้าย ผลการศึกษาพบว่า นโยบายที่เกี่ยวกับห่วงโซ่คุณค่ายาที่สำคัญมี 9 นโยบาย/กฎหมายระหว่างประเทศ และมี 24 นโยบาย/ยุทธศาสตร์/กฎระเบียบในประเทศ สำหรับนโยบายระหว่างประเทศ (Sustainable Development Goals) และในประเทศ (ยุทธศาสตร์ชาติและแผนปฏิรูป) มีความเชื่อมโยงกันในด้านสุขภาพแต่ไม่มีด้านการค้า สำหรับนโยบายในประเทศมี 2 กรณี คือ ในยุทธศาสตร์ชาติด้านเศรษฐกิจและการค้า และด้านสุขภาพ เห็นประเด็นสุขภาพในด้านการขยายเศรษฐกิจมากกว่าที่จะเห็นผลกระทบซึ่งกันและกัน ในกรณีความเชื่อมโยงระหว่างยุทธศาสตร์ชาติและนโยบายแห่งชาติด้านยามีความสอดคล้องกัน เช่นเดียวกันกับกฎหมายที่สัมพันธ์กับความตกลงระหว่างประเทศกรณีที่พบความไม่สอดคล้องของนโยบายจะเป็นในระดับการนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติโดยเฉพาะในประเด็นของการกำหนดสิทธิพิเศษเพื่อจูงใจผู้ผลิต/ประดิษฐ์คิดค้นนวัตกรรมด้วยมาตรการทางภาษีและการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ รวมถึงราคาที่สถานพยาบาลจัดซื้อ เป็นการสมควรที่หน่วยงานรับผิดชอบจะได้ติดตามประเมินผลของนโยบายเหล่านี้ในด้านประสิทธิผล และการบรรลุเป้าหมายth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectการเข้าถึงยาth_TH
dc.subjectระบบยาth_TH
dc.subjectยา--การใช้ยาth_TH
dc.subjectภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance)th_TH
dc.titleการวิเคราะห์สถานการณ์การเข้าถึงยาจำเป็นในประเทศไทย : ความไม่สอดคล้องของนโยบายth_TH
dc.title.alternativeAn analysis on access to essential medicines in Thailand: the issues of policy incoherenceth_TH
dc.typeTechnical Reportth_TH
dc.description.publicationภายใต้โครงการวิจัยเรื่อง การวิเคราะห์สถานการณ์การเข้าถึงยาจำเป็นในประเทศไทยth_TH
dc.identifier.callnoQV55 ช617ก 2563
dc.identifier.contactno61-077
.custom.citationชุติมา อรรคลีพันธุ์, Chutima Akaleephan, กมลวรรณ เขียวนิล, Kamonwan Kiewnin, จีรภา โสสม, Jeerapa Sosom, มินตรา หงษ์ธำรง and Mintar Hongtumrong. "การวิเคราะห์สถานการณ์การเข้าถึงยาจำเป็นในประเทศไทย : ความไม่สอดคล้องของนโยบาย." 2563. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5269">http://hdl.handle.net/11228/5269</a>.
.custom.total_download78
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year10
.custom.downloaded_fiscal_year2

Fulltext
Icon
Name: hs2603.pdf
Size: 1.588Mb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record