dc.contributor.author | ณัฐวุฒิ เสริมสาธนสวัสดิ์ | th_TH |
dc.contributor.author | Nuttawut Sermsathanasawadi | th_TH |
dc.contributor.author | ณัฐพล เครือคำหล่อ | th_TH |
dc.contributor.author | Nuttapol Chruewkamlow | th_TH |
dc.contributor.author | วรรณชัย ชินฉลองพร | th_TH |
dc.contributor.author | Wanchai Chinchalongporn | th_TH |
dc.date.accessioned | 2020-12-22T07:53:55Z | |
dc.date.available | 2020-12-22T07:53:55Z | |
dc.date.issued | 2563-11 | |
dc.identifier.other | hs2617 | |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/5284 | |
dc.description.abstract | ภาวะขาขาดเลือดส่วนปลาย (PAD) สามารถพบได้บ่อยในผู้ป่วย atherosclerotic syndrome ซึ่งมีอัตราการตายที่สูงในผู้ป่วยกลุ่มนี้ การรักษาโรคนี้ไม่ว่าจะเป็น PAD หรือผู้ป่วยภาวะขาขาดเลือดขั้นวิกฤติ (Critical limb ischemia (CLI)) มักจะดำเนินไปสู่การตัดขา ซึ่งนับเป็นวิธีการรักษาชีวิตผู้ป่วยที่ดีที่สุดในปัจจุบัน ดังนั้น การหาวิธีการที่จะรักษาภาวะขาขาดเลือด โดยเฉพาะการหาวิธีให้ร่างกายสร้างหลอดเลือดฝอยเพื่อส่งเลือดไปเลี้ยงอวัยวะได้โดยไม่ต้องตัดขายังเป็นที่ต้องการเป็นอย่างมากและเมื่อไม่นานมานี้ได้มีการนำเสนอการรักษาโดยการใช้เซลล์ต้นกำเนิดกันอย่างแพร่หลายและการพัฒนาสูตรใหม่ที่ดีในการเลี้ยงเซลล์ต้นกำเนิดยังคงมีการศึกษาอย่างต่อเนื่อง ในการศึกษานี้จึงทำขึ้นเพื่อประเมินประสิทธิภาพของวิธีการใหม่ในการเลี้ยงเซลล์ต้นกำเนิดและเซลล์ที่เกี่ยวข้องในการสร้าง microenvironment ที่เหมาะกับการสร้างหลอดเลือดใหม่โดยใช้ culture medium สูตรพิเศษ โดยเซลล์ที่เลี้ยงได้นี้เรียกว่า โมโนนิวเคลียเซลล์ประสิทธิภาพสูง (quality and quantity mononuclear cell: QQ-MNC) จากการศึกษาพบว่า QQ-MNC แสดงออกถึงการเสริมคุณลักษณะที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสร้างหลอดเลือดใหม่เมื่อเทียบกับ PBMNC ของตัวผู้ป่วยเอง โดยการศึกษานี้ทำขึ้นเพื่อทดสอบประสิทธิภาพและความปลอดภัยของ QQ-MNC ในสัตว์ทดลองโดยทำการปลูกถ่าย QQ-MNC ไปยัง nude mice ที่ถูกสร้างเป็นแบบจำลองของผู้ป่วยขาขาดเลือดโดยการมัดเส้นเลือด artery ของสัตว์ทดลองจากนั้นจึงทำการฉีดเซลล์ QQ-MNC เข้าไปเพื่อประเมินประสิทธิภาพในการสร้างหลอดเลือดใหม่และความปลอดภัยเทียบกับหนูที่ได้รับการฉีดด้วย PBMNC ของผู้ป่วยด้วยการใช้การ scan หลอดเลือดของสัตว์ทดลองโดยเครื่อง laser doppler จากการศึกษาพบว่าหนูในกลุ่มที่ได้รับการฉีดด้วย QQ-MNC มีสัญญาณของการสร้างหลอดเลือดใหม่ที่เร็วขึ้นสามารถรักษาขาของหนูทดลองไว้ได้ ในขณะที่หนูในกลุ่มที่ได้รับการฉีดด้วย PBMNC พบอาการของขาขาดเลือดขั้นวิกฤติและขาเน่าโดยมีการสร้างหลอดเลือดใหม่ได้ช้ามากเมื่อเทียบกับ QQ-MNC การศึกษานี้เป็นการศึกษานำร่องก่อนที่จะทำการศึกษาในระยะที่ 2 ที่จะนำเซลล์ของผู้ป่วยมาเปลี่ยนเป็น QQ-MNC และทำการศึกษาด้วยการฉีดไปที่ขาผู้ป่วยเป็นลำดับถัดไป | th_TH |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.subject | เบาหวาน | th_TH |
dc.subject | Diabetes | th_TH |
dc.subject | เบาหวาน--การรักษา | th_TH |
dc.subject | เซลล์ต้นกำเนิด | th_TH |
dc.subject | Stem Cell | th_TH |
dc.subject | Peripheral Arterial Disease | th_TH |
dc.subject | การบริการสุขภาพ (Health Service Delivery) | th_TH |
dc.title | การรักษาภาวะขาขาดเลือดขั้นวิกฤติจากโรคเบาหวานโดยการใช้เซลล์ต้นกำเนิด ระยะที่ 1 (ปีที่ 1) | th_TH |
dc.title.alternative | Stem cell therapy for patients with diabetes with critical limb ischemia phase 1 (Year 1) | th_TH |
dc.type | Technical Report | th_TH |
dc.description.abstractalternative | Peripheral arterial disease (PAD) is commonly caused by atherosclerosis. PAD is one of the major health problems in the modern society. Most patients who suffer from diabetes mellitus type II tend to suffer also from a severe PAD complication, i.e., critical limb ischemia (CLI). The main therapeutic approach for CLI is either surgical debridement or endovascular revascularization in order to improve blood flow to the affected body area, like extremity. However, approximately 20-30% of patients with CLI are not able to receive vascular or endovascular procedures and amputation appears to be the only option. This is to say that CLI patients have a relatively high tendency to have their afflicted body parts removed and the mortality rate of this group of patients is also high. With severe obstruction of blood flow, type II diabetic patients often have their limb loss from debridement. To search for the new therapeutic option of PAD/CLI, most of the researchers are focusing on progenitor cells, which were identified as a potential new therapeutic option to induce therapeutic angiogenesis. Recently, cell-based therapy for treating CLI has been introduced. Several studies show that the cell-based therapy for vascular regenerations is safe and effective. Especially, the new culture medium called culture medium which able to enhance quality and quantity mononuclear cell. The recent study reveals the efficacy of QQMNC in angiogenesis and vasculogenesis function already. This study was conducted to further investigate the efficacy and safety in animal model. The QQMNCs were injected to the critical ischemic limb mice model at the site of occlusion intramuscularly, then, the blood perfusion was assessed by using Laser doppler image scan. In this study, the group of nude mice which was injected with QQMNC show a promising angiogenesis and vaslucogenesis significantly while the group of PBMNC injection was not. The PBMNC injection group show gangrene and finally lost their limb. This study show the efficacy and safety in animal model which will pave the way to the next phase of the study about applying this method of QQMNC for treating in critical limb ischemic patient. | th_TH |
dc.identifier.callno | WK810 ณ392ก 2563 | |
dc.identifier.contactno | 62-031 | |
dc.subject.keyword | ภาวะขาขาดเลือดส่วนปลาย | th_TH |
.custom.citation | ณัฐวุฒิ เสริมสาธนสวัสดิ์, Nuttawut Sermsathanasawadi, ณัฐพล เครือคำหล่อ, Nuttapol Chruewkamlow, วรรณชัย ชินฉลองพร and Wanchai Chinchalongporn. "การรักษาภาวะขาขาดเลือดขั้นวิกฤติจากโรคเบาหวานโดยการใช้เซลล์ต้นกำเนิด ระยะที่ 1 (ปีที่ 1)." 2563. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5284">http://hdl.handle.net/11228/5284</a>. | |
.custom.total_download | 17 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 1 | |
.custom.downloaded_this_year | 3 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 2 | |