การทบทวนตัวชี้วัดของระบบยานานาชาติและประเทศไทย
dc.contributor.author | วรณัน วิทยาพิภพสกุล | th_TH |
dc.contributor.author | Woranan Witthayapipopsakul | th_TH |
dc.contributor.author | วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร | th_TH |
dc.contributor.author | Viroj Tangcharoensathien | th_TH |
dc.date.accessioned | 2021-03-31T02:50:31Z | |
dc.date.available | 2021-03-31T02:50:31Z | |
dc.date.issued | 2564-03 | |
dc.identifier.citation | วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 15,1 (ม.ค. - มี.ค. 2564) : 23-35 | th_TH |
dc.identifier.issn | 2672-9415 | |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/5334 | |
dc.description.abstract | การติดตามและประเมินผลเป็นองค์ประกอบที่มีความสำคัญของนโยบายแห่งชาติด้านยา การกำหนดตัวชี้วัดเพื่อประเมินผลงานมีประโยชน์ในการติดตามความก้าวหน้าตามเป้าหมาย ตัวชี้วัดที่ดีจะต้องมีความชัดเจน มีประโยชน์ วัดผลได้ น่าเชื่อถือ เที่ยงตรงและเป็นที่ยอมรับโดยผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง กรอบการประเมินผลระบบยาทั้งประเทศไทยและในต่างประเทศให้ความสำคัญในประเด็นสำคัญต่างๆ ไม่แตกต่างกันมากนัก ในประเทศไทย ศูนย์วิชาการเฝ้าระวังและพัฒนาระบบยา (กพย.) เคยมีการกำหนดและวิเคราะห์ตัวชี้วัดระบบยาในปี พ.ศ. 2552 ใน 7 มิติ ได้แก่ ธรรมาภิบาล การพึ่งตนเองทางด้านยาของประเทศไทย ความปลอดภัยด้านยา ความเป็นธรรมในระบบยา คุณภาพยา การเข้าถึงยาจำเป็น และการใช้ยาอย่างเหมาะสม แต่ไม่ได้มีการติดตามประเมินความก้าวหน้าอย่างต่อเนื่อง จึงกล่าวได้ว่า ยังไม่มีตัวชี้วัดที่ชัดเจนและใช้กันอย่างแพร่หลายนอกจากตัวชี้วัดภายใต้เป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) ได้แก่ ตัวชี้วัด SDG 3.b ซึ่งมีสาระคือการสนับสนุนให้มีการวิจัยและพัฒนาวัคซีนและยาสำหรับโรคติดต่อและโรคไม่ติดต่อที่เป็นปัญหาของประเทศกำลังพัฒนา ให้ทุกคนสามารถเข้าถึงยาจำเป็นและวัคซีน โดยเฉพาะ SDG 3.b.3 คือสัดส่วนของหน่วยบริการที่มียาจำเป็นในราคาที่ประชาชนสามารถจ่ายได้และมีความยั่งยืน ตัวชี้วัดที่พัฒนาและคัดเลือกโดยผู้เชี่ยวชาญขององค์การอนามัยโลกนั้นก็ถือเป็นแนวทางที่ดีในการปรับใช้ให้เหมาะสมกับระบบยาของประเทศไทย ซึ่งกลุ่มนโยบายแห่งชาติด้านยา สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยามีอำนาจหน้าที่ในการพัฒนาตัวชี้วัด และประเมินผลความก้าวหน้าของระบบยา โดยต้องอาศัยศักยภาพและความพร้อมของระบบข้อมูลเป็นปัจจัยสนับสนุนที่สำคัญ | th_TH |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.subject | ระบบยา | th_TH |
dc.subject | ระบบยา--การจัดการ | th_TH |
dc.subject | ตัวชี้วัด | th_TH |
dc.subject | ยา--นโยบายของรัฐ | th_TH |
dc.title | การทบทวนตัวชี้วัดของระบบยานานาชาติและประเทศไทย | th_TH |
dc.title.alternative | Key Performance Indicators for Drug Systems: A Review of International and Thai Experiences | th_TH |
dc.type | Article | th_TH |
dc.description.abstractalternative | Monitoring and evaluation (M&E) is one of crucial functions in the national drug policy. Performance indicators ensure that priority actions are successfully implemented and produce desirable outcomes. Performance indicators should have clarity, usefulness, measurability, reliability, and validity as well as gain acceptance by key stakeholders. It is observed that international M&E frameworks and those existed in Thailand applied common concepts and gave priority to similar components of drug systems. In Thailand, the Thai Drug Watch has once developed 7-dimension drug systems indicators, namely governance, self-reliance, safety, equity, drug quality, accessibility and affordability, and rational use, and analyzed the situation in 2009. Nonetheless, they have not been routinely monitored ever since. Hence, definitive and widely agreed indicators are still lacking apart from the Sustainable Development Goal indicator 3.b, which supports the research and development of vaccines and medicines for the communicable and non-communicable diseases that primarily affect developing countries and provides access to affordable essential medicines and vaccines for all. SDG 3.b.3 monitors the proportion of health facilities that have a core set of relevant essential medicines available and affordable on a sustainable basis. The indicators developed and prioritized by the World Health Organization have potentials to be adapted to the Thailand drug system contexts. The National Drug Policy group of the Food and Drug Administration has institutional responsibility to develop and monitor the drug system performance; for which information systems play an important supporting role. | th_TH |
.custom.citation | วรณัน วิทยาพิภพสกุล, Woranan Witthayapipopsakul, วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร and Viroj Tangcharoensathien. "การทบทวนตัวชี้วัดของระบบยานานาชาติและประเทศไทย." 2564. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5334">http://hdl.handle.net/11228/5334</a>. | |
.custom.total_download | 1378 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 39 | |
.custom.downloaded_this_year | 573 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 95 |
ผลงานวิชาการเหล่านี้เป็นลิขสิทธิ์ของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข หากมีการนำไปใช้อ้างอิง โปรดอ้างถึงสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในฐานะเจ้าของลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติสงวนลิขสิทธิ์สำหรับการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ |
ฉบับเต็ม
ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้
-
Articles [1352]
บทความวิชาการ