Show simple item record

The Response and Management on Infant and Young Child Feeding during the COVID-19 Pandemic in Thailand

dc.contributor.authorชมพูนุท โตโพธิ์ไทยth_TH
dc.contributor.authorChompoonut Topothaith_TH
dc.contributor.authorฐิติกร โตโพธิ์ไทยth_TH
dc.contributor.authorThitikorn Topothaith_TH
dc.contributor.authorปารีณา ศรีวนิชย์th_TH
dc.contributor.authorPareena Sriwanichth_TH
dc.contributor.authorเอกชัย เพียรศรีวัชราth_TH
dc.contributor.authorEkachai Piensriwatcharath_TH
dc.date.accessioned2021-03-31T03:50:00Z
dc.date.available2021-03-31T03:50:00Z
dc.date.issued2564-03
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 15,1 (ม.ค. - มี.ค. 2564) : 66-80th_TH
dc.identifier.issn2672-9415
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/5337
dc.description.abstractในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 ทารกและเด็กเล็กที่อาศัยอยู่ในครอบครัวที่มีรายได้น้อยต้องประสบกับปัญหาการขาดอาหารโดยเฉพาะเด็กที่ไม่ได้กินนมแม่แต่ใช้นมผงทดแทน หน่วยงานภาครัฐและภาคประชาสังคมจำนวนมากได้ระดมทุนและจัดทำโครงการรับบริจาคนมผงเพื่อนำไปบริจาคให้แก่ครอบครัวที่ได้รับผลกระทบ บทความนี้ได้ทบทวนวรรณกรรมจากวารสารวิชาการและข่าวในสื่อของประเทศไทย เพื่อนำเสนอสถานการณ์การขาดแคลนอาหารของทารกและเด็กเล็กในสังคมไทย รวบรวมข้อแนะนำการให้อาหารแก่ทารกและเด็กเล็กในประเด็นการให้นมแม่และนมผงในช่วงการแพร่ระบาดของโควิด-19 ทบทวนแนวทางการบริหารจัดการของหน่วยงานภาครัฐ และบทบาทของภาคประชาสังคมต่อการจัดการปัญหาการขาดแคลนอาหารของทารกและเด็กเล็ก ผลการทบทวนวรรณกรรมในประเด็นการให้อาหารแก่ทารกและเด็กเล็กพบว่า นมแม่ยังเป็นอาหารที่ดีที่สุดและเด็กทุกคนควรได้รับนมแม่ตามปกติแม้แม่ป่วยเป็นโควิด-19 ด้วยการปรับใช้มาตรการต่างๆ ในการป้องกันโรค ทั้งการสวมหน้ากากอนามัย การล้างมือและการดูแลเรื่องความสะอาดในทุกขั้นตอนสำหรับเด็กที่กินนมผงและครอบครัวไม่มีรายได้เพียงพอ จำเป็นต้องได้รับบริจาคในระยะเร่งด่วน ซึ่งที่ผ่านมา ทั้งหน่วยงานรัฐและภาคประชาสังคมได้เปิดรับบริจาคนมผงสำหรับทารกและเด็กเล็กในวงกว้าง อย่างไรก็ตาม หน่วยงานรัฐจำเป็นต้องวางแผนแก้ปัญหาการขาดแคลนอาหารสำหรับทารกและเด็กเล็กในระยะยาว บทความนี้มีข้อเสนอให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องติดตามข้อแนะนำทางวิชาการเกี่ยวกับการให้อาหารทารกและเด็กเล็ก โดยเฉพาะการให้นมลูกในกลุ่มแม่ที่ป่วยด้วยโควิด-19 อย่างใกล้ชิด การถอดบทเรียนการบริจาคนมผงที่เกิดขึ้นในสังคมไทยเพื่อเตรียมพร้อมในการจัดกระบวนการช่วยเหลือด้านอาหารสำหรับทารกและเด็กเล็กในช่วงวิกฤติที่อาจจะเกิดขึ้นได้ในอนาคต รวมทั้งมุ่งเน้นมาตรการส่งเสริม สนับสนุนและปกป้องให้เด็กไทยได้กินนมแม่อย่างเต็มที่th_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectการเลี้ยงลูกด้วยนมth_TH
dc.subjectน้ำนมมารดา, การเลี้ยงลูกth_TH
dc.subjectอาหาร--ในวัยทารกและวัยเด็กth_TH
dc.subjectCOVID-19 (Disease)th_TH
dc.subjectโควิด-19 (โรค)th_TH
dc.subjectCoronavirusesth_TH
dc.subjectไวรัสโคโรนาth_TH
dc.titleการบริหารจัดการเพื่อแก้ปัญหาเกี่ยวกับการให้อาหารแก่ทารกและเด็กเล็กในสังคมไทยระหว่างการแพร่ระบาดของโควิด-19th_TH
dc.title.alternativeThe Response and Management on Infant and Young Child Feeding during the COVID-19 Pandemic in Thailandth_TH
dc.typeArticleth_TH
dc.description.abstractalternativeDuring the COVID-19 pandemic, infants and young children living in poor income families suffered from food shortage, especially non-breastfed children. The government, civil societies and various organizations have raised funding and projects calling for the donation of breast-milk substitutes (BMS) in order to support the affected infants and young children. This article reviewed documents from literature and news from the Thai media to explore; (1) the situation of infant and young child food shortage in Thailand, (2) the guidelines on infant and young child feeding during COVID-19 pandemic, focusing on breastfeeding and formula feeding, (3) the responses from government, and (4) civil society’s contribution to solve the problem of food shortage. The literature review indicated that breastfeeding was recommended to all infants and children of COVID-19 positive mothers requiring precautious interventions. For non-breastfed children from income deficit families, the donation of BMS was urgently needed, however, the government should plan for long term management on infant and young child feeding support. This article recommended that relevant stakeholders should closely follow the guidelines for breastfeeding among COVID-19 positive mothers, draw the lesson learnt from the phenomena of BMS donation in order to make a better future plan for infant and young child feeding support, and advocate the promotion, support, and protection of breastfeeding practices in Thailand.th_TH
.custom.citationชมพูนุท โตโพธิ์ไทย, Chompoonut Topothai, ฐิติกร โตโพธิ์ไทย, Thitikorn Topothai, ปารีณา ศรีวนิชย์, Pareena Sriwanich, เอกชัย เพียรศรีวัชรา and Ekachai Piensriwatchara. "การบริหารจัดการเพื่อแก้ปัญหาเกี่ยวกับการให้อาหารแก่ทารกและเด็กเล็กในสังคมไทยระหว่างการแพร่ระบาดของโควิด-19." 2564. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5337">http://hdl.handle.net/11228/5337</a>.
.custom.total_download1381
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month22
.custom.downloaded_this_year93
.custom.downloaded_fiscal_year146

Fulltext
Icon
Name: hsri-journal-v15n ...
Size: 2.439Mb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

  • Articles [1334]
    บทความวิชาการ

Show simple item record