dc.contributor.author | ชลพันธ์ ปิยถาวรอนันต์ | th_TH |
dc.contributor.author | Chonlaphan Piyathawornanan | th_TH |
dc.contributor.author | ฐิติกร โตโพธิ์ไทย | th_TH |
dc.contributor.author | Thitikorn Topothai | th_TH |
dc.contributor.author | สายชล คล้อยเอี่ยม | th_TH |
dc.contributor.author | Saichon Kloyiam | th_TH |
dc.contributor.author | ชมพูนุท โตโพธิ์ไทย | th_TH |
dc.contributor.author | Chompoonut Topothai | th_TH |
dc.contributor.author | พีรยา เพียรเจริญ | th_TH |
dc.contributor.author | Peeraya Piancharoen | th_TH |
dc.contributor.author | อุดม อัศวุตมางกุร | th_TH |
dc.contributor.author | Udom Asawutmangkul | th_TH |
dc.date.accessioned | 2021-03-31T05:18:03Z | |
dc.date.available | 2021-03-31T05:18:03Z | |
dc.date.issued | 2564-03 | |
dc.identifier.citation | วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 15,1 (ม.ค. - มี.ค. 2564) : 116-129 | th_TH |
dc.identifier.issn | 2672-9415 | |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/5340 | |
dc.description.abstract | ประเทศไทย โดยกระทรวงสาธารณสุข ได้ดำเนินนโยบายส่งเสริมการก้าวเดินเป็นครั้งแรกในปี พ.ศ. 2563 ผ่านโครงการก้าวท้าใจ โดยมีเป้าหมายที่ระยะทาง 60 กิโลเมตร ใน 60 วัน ตั้งแต่วันที่ 1 กุมภาพันธ์ ถึง 31 มีนาคม พ.ศ. 2563 จุดมุ่งหมายของโครงการคือเพื่อสร้างความตระหนักในการมีกิจกรรมทางกายของประชาชน การศึกษานี้มีจุดประสงค์เพื่อวิเคราะห์การบรรลุเป้าหมายระยะทาง 60 กิโลเมตรของโครงการ โดยวิเคราะห์ข้อมูลผู้สมัครโครงการที่ส่งระยะทางการก้าวเดินจำนวน 203,910 คน จากเว็บไซต์ของโครงการด้วยสถิติเชิงพรรณนาและการวิเคราะห์ถดถอยโลจิสติก โดยมีตัวแปรตามคือการสะสมระยะทางได้เท่ากับหรือมากกว่า 60 กิโลเมตร ตัวแปรต้น คือ ลักษณะประชากรและสังคมของผู้สมัคร ได้แก่ เพศ อายุ ดัชนีมวลกาย ภูมิภาค บริเวณที่อยู่อาศัย และประเภทของผู้สมัคร ผลการศึกษาพบว่า ร้อยละ 46 ของผู้สมัครที่ส่งระยะทางการก้าวเดินบรรลุเป้าหมายระยะทางของโครงการ โดยผู้สมัครเพศชายบรรลุเป้าหมายมากกว่าเพศหญิง ผู้สมัครที่มีอายุ 30-59 ปี ไม่มีภาวะน้ำหนักเกินหรืออ้วน อาศัยในกรุงเทพ อาศัยในเขตเมือง และเป็นบุคลากรสาธารณสุข บรรลุเป้าหมายระยะทางมากกว่าผู้สมัครประเภทตรงข้าม ทั้งนี้พบว่าภาวะอ้วน การอาศัยในเขตชนบท การเป็นอาสาสมัครสาธารณสุข ลดโอกาสการบรรลุเป้าหมายระยะทาง (adjusted Odds ratio = 0.86, 0.84, 0.33 จากการวิเคราะห์ถดถอยพหุโลจิสติก ตามลำดับ) การศึกษานี้มีข้อเสนอแนะให้ดำเนินนโยบายส่งเสริมการก้าวเดินอย่างต่อเนื่อง โดยใช้ยุทธศาสตร์การส่งเสริมการมีส่วนร่วมกับโครงการที่หลากหลายสำหรับผู้เข้าร่วมโครงการที่มีความแตกต่างทางลักษณะประชากรและสังคม | th_TH |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.language.iso | en | th_TH |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.subject | กิจกรรมทางกาย | th_TH |
dc.subject | Physical Activity | th_TH |
dc.subject | การสร้างเสริมสุขภาพ | th_TH |
dc.subject | บริการสุขภาพ--นโยบายของรัฐ | th_TH |
dc.subject | นโยบายด้านสาธารณสุข | th_TH |
dc.title | ใครบรรลุเป้าหมายระยะทาง 60 กิโลเมตร ใน 60 วัน ของนโยบายส่งเสริมการก้าวเดินครั้งที่ 1 ของประเทศไทย? การศึกษาภาคตัดขวางของประชาชนไทยวัยผู้ใหญ่ | th_TH |
dc.title.alternative | Who Achieved 60 Kilometers in 60 Days of the First Thailand National Steps Challenge? A Cross-Sectional Study of Thai Adults | th_TH |
dc.type | Article | th_TH |
dc.description.abstractalternative | Thailand had implemented the first national steps challenge in 2020 by Ministry of Public Health with the goal to achieve the distance of walking and running at 60 kilometers in 60 days during 1 February to 31 March 2020. The challenge aimed to increase awareness on physical activity at country-wide level. This study aimed to determine the achievement of 60-km goal of Thailand steps challenge season 1. Website-based data of 203,910 records, of participants who sent distance data, was retrieved and analyzed by descriptive parameters and logistic regression. The achievement of accumulative distance of at least 60 km was analyzed by participants’ demographics such as sex, age, body mass index, region, urbanity, and type of participant. The findings revealed that around 46% of participants, who sent distance data, achieved the project goal. Men achieved the goal higher than women. Participants aged 30-59 years, not being obese, living in Bangkok, living in urban areas, and being public health officers, achieved the project goal higher than their counterparts. Being obese, living in rural areas, and being village health volunteers, were less likely to achieve the project goal (adjusted Odds ratio = 0.89, 0.83, 0.43 by multivariate analysis, respectively). The study recommended that the national steps challenge should be continuously implemented by using more strategies to engage participants with different characteristics throughout the project. | th_TH |
.custom.citation | ชลพันธ์ ปิยถาวรอนันต์, Chonlaphan Piyathawornanan, ฐิติกร โตโพธิ์ไทย, Thitikorn Topothai, สายชล คล้อยเอี่ยม, Saichon Kloyiam, ชมพูนุท โตโพธิ์ไทย, Chompoonut Topothai, พีรยา เพียรเจริญ, Peeraya Piancharoen, อุดม อัศวุตมางกุร and Udom Asawutmangkul. "ใครบรรลุเป้าหมายระยะทาง 60 กิโลเมตร ใน 60 วัน ของนโยบายส่งเสริมการก้าวเดินครั้งที่ 1 ของประเทศไทย? การศึกษาภาคตัดขวางของประชาชนไทยวัยผู้ใหญ่." 2564. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5340">http://hdl.handle.net/11228/5340</a>. | |
.custom.total_download | 443 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 0 | |
.custom.downloaded_this_year | 109 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 16 | |