แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

การพัฒนาศักยภาพการป้องกันการเกิดเป็นวัณโรคในผู้ป่วยเอชไอวีที่มีการติดเชื้อวัณโรคระยะแฝงด้วยยาสูตรใหม่ ยาไอโซไนอะซิด/ไรฟาเพนตินวันละ 1 ครั้ง (4 สัปดาห์) เปรียบเทียบกับยาไอโซไนอะซิด/ไรฟาเพนตินสัปดาห์ละ 1 ครั้ง (12 สัปดาห์) (ปีที่ 1)

dc.contributor.authorอัญชลี อวิหิงสานนท์th_TH
dc.contributor.authorAnchalee Avihingsanonth_TH
dc.contributor.authorประพันธ์ ภานุภาคth_TH
dc.contributor.authorPraphan Phanuphakth_TH
dc.contributor.authorกำพล สุวรรณพิมลกุลth_TH
dc.contributor.authorGompol Suwanpimolkulth_TH
dc.contributor.authorกมล แก้วกิติณรงค์th_TH
dc.contributor.authorKamon Kawkitinarongth_TH
dc.contributor.authorศิวะพร เกตุจุมพลth_TH
dc.contributor.authorSivaporn Gatechompolth_TH
dc.contributor.authorฮาน, วิน มินth_TH
dc.contributor.authorHan, Win Minth_TH
dc.contributor.authorผลิน กมลวัทน์th_TH
dc.contributor.authorPhalin Kamolwatth_TH
dc.contributor.authorศรายุทธ อุตตมางคพงศ์th_TH
dc.contributor.authorSarayuth Uttamangkapongth_TH
dc.contributor.authorจิรายุ วิสูตรานุกูลth_TH
dc.contributor.authorJirayu Visuthranukulth_TH
dc.contributor.authorศรีเพชรรัตน์ เมฆวิวัฒนาวงศ์th_TH
dc.contributor.authorSripetcharat Mekviwattanawongth_TH
dc.contributor.authorสุพรรณี จิรจริยาเวชth_TH
dc.contributor.authorSupunnee Jirajariyavejth_TH
dc.contributor.authorประณิธิ ด่านพรประเสริฐth_TH
dc.contributor.authorPraniti Danpornprasertth_TH
dc.contributor.authorวรรัตน อิ่มสงวนth_TH
dc.contributor.authorWorarat Imsanguanth_TH
dc.contributor.authorวิรัช กลิ่นบัวแย้มth_TH
dc.contributor.authorVirat Klinbuayaemth_TH
dc.contributor.authorพลากร พนารัตน์th_TH
dc.contributor.authorPalakorn Panaratth_TH
dc.contributor.authorพรพิศ ตรีบุพชาติสกุลth_TH
dc.contributor.authorPornpit Treebupachatsakulth_TH
dc.contributor.authorศิริชัย วิวัฒน์โรจนกุลth_TH
dc.contributor.authorSirichai Wiwatrojanagulth_TH
dc.contributor.authorพฤฒิพงศ์ หนูเพชรth_TH
dc.contributor.authorPreudtipong Noopetchth_TH
dc.contributor.authorเพลินจันทร์ เชษฐ์โชติศักดิ์th_TH
dc.contributor.authorPloenchan Chetchotisakdth_TH
dc.contributor.authorณัชชา แซ่เตียวth_TH
dc.contributor.authorNatcha Saetiewth_TH
dc.contributor.authorฐิติสันต์ ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยาth_TH
dc.contributor.authorThitisant Palakawong Na Ayuthayath_TH
dc.contributor.authorเครือทิพย์ จันทรธานีวัฒน์th_TH
dc.contributor.authorKruatip Jantharathaneewatth_TH
dc.date.accessioned2021-08-10T09:06:34Z
dc.date.available2021-08-10T09:06:34Z
dc.date.issued2564-03-29
dc.identifier.otherhs2691
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/5390
dc.description.abstractวัณโรคยังคงเป็นปัญหาที่ก่อให้เกิดการเสียชีวิตในผู้ที่ติดเชื้อเอชไอวี ซึ่งการติดเชื้อเอชไอวีจะเพิ่มความเสี่ยงต่อการเป็นวัณโรคมากขึ้น (100 เท่า) แม้ว่าการรักษาวัณโรคแฝงสามารถป้องกันการเป็นวัณโรคได้ประมาณ 60-90% แต่สูตรการรักษาวัณโรคแฝงในปัจจุบัน (สูตรยาไอโซไนอะซิด 9 เดือน) มีข้อจำกัดด้านความสม่ำเสมอในการรับประทานยาและอัตราการรับประทานยาจนครบในระดับต่ำ อันเนื่องมาจากระยะเวลาที่ยาวนาน ความกลัวต่อการดื้อยาไอโซไนอะซิดและการเป็นวัณโรคแฝงที่ไม่อาจรักษาให้หายได้ด้วยยาสูตรไอโซไนอะซิด โครงการวิจัยนี้ได้ประเมินความปลอดภัยและประสิทธิผลของการรักษาด้วยสูตรยาระยะสั้นแบบใหม่ในประเทศไทย ซึ่งเป็นประเทศหนึ่งที่มีการติดเชื้อวัณโรคร่วมกับติดเชื้อเอชไอวี วิธีการวิจัย: ผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่ได้รับการรักษาด้วยยาต้านไวรัสมากกว่า 2 สัปดาห์ และไม่ได้ป่วยเป็นวัณโรค จากโรงพยาบาล 14 แห่งในประเทศไทย จะได้รับการสุ่มให้ได้รับยารักษาวัณโรคแฝงสูตร 1 HP: Arm A (ประกอบด้วยยาไอโซไนอะซิด 300 มิลลิกรัม กับยาไรฟาเพนติน 450–600 มิลลิกรัม วันละครั้งเป็นเวลา 4 สัปดาห์) หรือสูตร 3 HP : Arm B (ประกอบด้วยยาไอโซไนอะซิด 700-900 มิลลิกรัม กับยาไรฟาเพนติน 750–900 มิลลิกรัม สัปดาห์ละครั้งเป็นเวลา 12 สัปดาห์) อาสาสมัครจะได้รับการติดตามเป็นเวลา 3 ปี การวิเคราะห์ข้อมูลหลักของโครงการคือ การวินิจฉัยว่าเป็นวัณโรค หรือการเสียชีวิตจากวัณโรค หรือการเสียชีวิตโดยไม่ทราบสาเหตุ โครงการวิจัยนี้อยู่ระหว่างการดำเนินงานและมีแผนที่จะรับอาสาสมัครผู้ติดเชื้อเอชไอวี จำนวน 2,500 ราย อย่างไรก็ตามโครงการวิจัยนี้ ได้รับผลกระทบอันเนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 และการปนเปื้อนสารก่อมะเร็งของยาไรฟาเพนติน แต่อย่างไรก็ตามการปนเปื้อนนี้ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการอาหารและยาประเทศสหรัฐอเมริกา ว่ามีปริมาณการปนเปื้อนที่น้อยมากและมีผลต่อการก่อมะเร็งน้อยมากเช่นกัน การวิเคราะห์ข้อมูลปีที่ 1 จึงมุ่งเน้นไปที่อาสาสมัครที่ได้เข้าร่วมโครงการวิจัยแล้ว จำนวน 644 ราย ผลการศึกษา: โครงการวิจัยนี้มีอาสาสมัครเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น จำนวน 644 ราย (เพศชาย 86%), อาสาสมัคร 322 ราย ได้รับการสุ่มให้อยู่ในกลุ่มการรักษา Arm A หรือ Arm B ค่ามัธยฐานอายุของอาสาสมัครเท่ากับ 30 ปี (IQR 25-39) ค่ามัธยฐานของซีดี 4 ณ วันเข้าร่วมโครงการวิจัย เท่ากับ 300 (IQR 201-415) เซลล์/ลูกบาศก์มิลลิเมตร, และ 24% ของอาสาสมัครมีซีดี 4 ณ วันเข้าโครงการน้อยกว่า 200 เซลล์/ลูกบาศก์มิลลิเมตร อาสาสมัครทุกรายได้รับยาต้านไวรัสเอชไอวีแบบเม็ดรวมที่ประกอบด้วยยาทีโนโฟเวียร์ ไดโซโพรซิล ฟูมาเรต (ทีดีเอฟ)/เอ็มไตรซิตาบีน (เอฟทีซี)/อีฟาไวเรนซ์ (อีเอฟวี) ค่ามัธยฐานของระยะเวลาได้รับยาต้านไวรัสมาก่อนรับยาป้องกันวัณโรคแฝงเท่ากับ 1.3 เดือน ค่ามัธยฐานของระยะเวลาติดตามเท่ากับ 1 ปี ณ วันเข้าร่วมโครงการวิจัย พบว่า ไม่มีรายงานว่าอาสาสมัครเป็นวัณโรคหรือเสียชีวิต เกิดเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์เท่ากับ 6.1% (Arm A = 6.5% และ Arm B = 5.6%) โดยพบว่ามีภาวะตับอักเสบ (มีค่า ALT สูงขึ้น) (Arm A = 3.1% และ Arm B = 4%) อาสาสมัครที่มีภาวะตับอักเสบส่วนใหญ่จะไม่มีอาการ แต่ทราบได้จากการตรวจเลือดตามตารางการนัดหมาย มีผื่นขึ้น 0.8% (Arm A = 1.2% และ Arm B = 0.3%) มีอาสาสมัคร 1 รายที่เกิดอาการชาที่เท้า และเกิดผลข้างเคียงร้ายแรงในอาสาสมัคร จำนวน 10 ราย (Arm A = 0.9% และ Arm B = 2.1%) มีจำนวน 2 ราย ที่เกิดปฏิกิริยาการแพ้อย่างรุนแรง (เกิดผื่นและตับอักเสบ) ซึ่งทั้ง 2 รายนี้อยู่ในกลุ่มการรักษาแบบ Arm B อัตราการรักษาครบของกลุ่มที่ได้รับการรักษาแบบ Arm A และ Arm B คิดเป็นร้อยละ 93.2 และ 91.6 ตามลำดับ ปริมาณไวรัสเอชไอวีในเลือดที่น้อยกว่า 50 ก๊อปปี้ต่อมิลลิลิตร ณ สัปดาห์ที่ 48 หลังเริ่มยาป้องกันวัณโรคในกลุ่มการรักษาแบบ Arm A เท่ากับ 96% และกลุ่มการรักษาแบบ Arm B จำนวน 95.7% สรุปผล: ในการรักษาการติดเชื้อวัณโรคแฝง พบว่าทั้งกลุ่ม Arm A และ Arm B มีความสม่ำเสมอในการรับประทานยา มีการหยุดยารักษาก่อนกำหนดในอัตราต่ำและมีประสิทธิผลสูงในการป้องกันการเป็นวัณโรคจากการติดตามข้อมูลใน 1 ปี ไม่พบรายงานการเป็นวัณโรคหรือการเสียชีวิตเกิดขึ้นth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectวัณโรคth_TH
dc.subjectTuberculosisth_TH
dc.subjectวัณโรค--ผู้ป่วยth_TH
dc.subjectTuberculosis--Patientsth_TH
dc.subjectวัณโรค--การป้องกันและควบคุมth_TH
dc.subjectTuberculosis--Prevention & Controlth_TH
dc.subjectHIV/AIDSth_TH
dc.subjectLatent Tuberculosisth_TH
dc.subjectIsoniazidth_TH
dc.subjectการบริการสุขภาพ (Health Service Delivery)th_TH
dc.titleการพัฒนาศักยภาพการป้องกันการเกิดเป็นวัณโรคในผู้ป่วยเอชไอวีที่มีการติดเชื้อวัณโรคระยะแฝงด้วยยาสูตรใหม่ ยาไอโซไนอะซิด/ไรฟาเพนตินวันละ 1 ครั้ง (4 สัปดาห์) เปรียบเทียบกับยาไอโซไนอะซิด/ไรฟาเพนตินสัปดาห์ละ 1 ครั้ง (12 สัปดาห์) (ปีที่ 1)th_TH
dc.title.alternativeImplementation for tuberculosis preventive therapy among latent tuberculosis infection in HIV-infected individuals using novel regimen of Isoniazid/Rifapentine daily (4 weeks) compared to Isoniazid/Rifapentine weekly (12 weeks) (1st Year)th_TH
dc.typeTechnical Reportth_TH
dc.description.abstractalternativeTuberculosis remains the leading killer of people living with HIV (PLHIV) and HIV greatly increases the risk of reactivation tuberculosis (100 fold). Although tuberculosis prophylaxis therapy (TPT) could prevent TB reactivation in 60-90% but current regimen (INH 9 months:9H) is limited by poor implementation and low completion rate due to long duration, fear of INH resistance and dormant TB could not be killed by INH. We evaluated the safety and efficacy of a novel shorter TPT in Thailand, a high TB/HIV burden country. Methods: PLHIV on ART > 2 weeks and free of active TB are randomized to Arm A: 1 HP (isoniazid 300 mg plus rifapentine 450-600 mg once daily for 4 weeks) or Arm B: 3HP (isoniazid 700-900 mg plus rifapentine 750-900 mg once weekly for 12 weeks) from 14 hospitals in Thailand. The participants will be followed up for 3 years. The primary end point was the first diagnosis of TB or death from TB or unknown cause. This study is ongoing, plan to enroll 2500 PLHIV. However, it is affected by COVID 19 pandemic and also impurified of rifapentine. By the way, the impurified of the study drug has been approved from the US FDA that it has a few impurification so it causes a few effects to the develop cancer. This analysis is focused on 1st year with 644 PLHIV enrolled. Results: A total of 644 patients (86% male) were enrolled, 322 each were assigned to Arm A or Arm B. Median age was 30 (IQR 25-39) years, median baseline CD4 cells counts were 300 (201-415) cells/mm3, and 24% of them had baseline CD4< 200 cells/mm3. All received FDC of tenofovir disoproxil fumarate (TDF)/emtricitabine (FTC)/efavirenz (EFV) for a median 1.3 months. The median duration of follow-up was 1 year at the study entry. There were no active TB or death reported. Adverse event occurred 6.1% (Arm A = 6.5% and Arm B = 5.6%) as following hepatitis (elevated ALT) (Arm A=3.1% and Arm B 4%). Majority of hepatitis were asymptomatic cases, it was found during schedule blood testing. Rash occurred 0.8% (Arm A=1.2% and Arm B 0.3%). 1 case (Arm A) had numbness of feet. Serious side effect occurred among 10 cases (Arm A=0.9% and Arm B 2.1%. Totally 2 cases developed hypersensitivity reaction (rash and hepatitis), both of them were in Arm B. The percentage of treatment completion was 93.2% and 91.6% in Arm A and Arm B, respectively. At 48 weeks after starting TB drugs, 96% and 95.7% of Arm A and Arm B had HIV RNA <50 copies/ml, respectively. Conclusion: In the treatment of latent tuberculosis infection, both Arm A and Arm B resulted in better adherence, low percentage of discontinued treatments and highly efficacy to prevent active TB. No active TB or death were reported during 1 year.th_TH
dc.identifier.callnoWF200 อ525ก 2564
dc.identifier.contactno63-021
dc.subject.keywordวัณโรคแฝงth_TH
dc.subject.keywordRifapentineth_TH
.custom.citationอัญชลี อวิหิงสานนท์, Anchalee Avihingsanon, ประพันธ์ ภานุภาค, Praphan Phanuphak, กำพล สุวรรณพิมลกุล, Gompol Suwanpimolkul, กมล แก้วกิติณรงค์, Kamon Kawkitinarong, ศิวะพร เกตุจุมพล, Sivaporn Gatechompol, ฮาน, วิน มิน, Han, Win Min, ผลิน กมลวัทน์, Phalin Kamolwat, ศรายุทธ อุตตมางคพงศ์, Sarayuth Uttamangkapong, จิรายุ วิสูตรานุกูล, Jirayu Visuthranukul, ศรีเพชรรัตน์ เมฆวิวัฒนาวงศ์, Sripetcharat Mekviwattanawong, สุพรรณี จิรจริยาเวช, Supunnee Jirajariyavej, ประณิธิ ด่านพรประเสริฐ, Praniti Danpornprasert, วรรัตน อิ่มสงวน, Worarat Imsanguan, วิรัช กลิ่นบัวแย้ม, Virat Klinbuayaem, พลากร พนารัตน์, Palakorn Panarat, พรพิศ ตรีบุพชาติสกุล, Pornpit Treebupachatsakul, ศิริชัย วิวัฒน์โรจนกุล, Sirichai Wiwatrojanagul, พฤฒิพงศ์ หนูเพชร, Preudtipong Noopetch, เพลินจันทร์ เชษฐ์โชติศักดิ์, Ploenchan Chetchotisakd, ณัชชา แซ่เตียว, Natcha Saetiew, ฐิติสันต์ ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา, Thitisant Palakawong Na Ayuthaya, เครือทิพย์ จันทรธานีวัฒน์ and Kruatip Jantharathaneewat. "การพัฒนาศักยภาพการป้องกันการเกิดเป็นวัณโรคในผู้ป่วยเอชไอวีที่มีการติดเชื้อวัณโรคระยะแฝงด้วยยาสูตรใหม่ ยาไอโซไนอะซิด/ไรฟาเพนตินวันละ 1 ครั้ง (4 สัปดาห์) เปรียบเทียบกับยาไอโซไนอะซิด/ไรฟาเพนตินสัปดาห์ละ 1 ครั้ง (12 สัปดาห์) (ปีที่ 1)." 2564. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5390">http://hdl.handle.net/11228/5390</a>.
.custom.total_download94
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month4
.custom.downloaded_this_year36
.custom.downloaded_fiscal_year8

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hs2691.PDF
ขนาด: 1.240Mb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย