Promoting Walking and Cycling in Daily Life: A Case Study of four Communities in Thailand
dc.contributor.author | ฐิติกร โตโพธิ์ไทย | th_TH |
dc.contributor.author | Thitikorn Topothai | th_TH |
dc.contributor.author | ชมพูนุท โตโพธิ์ไทย | th_TH |
dc.contributor.author | Chompoonut Topothai | th_TH |
dc.contributor.author | อัจจิมา มีพริ้ง | th_TH |
dc.contributor.author | Atjima Meepring | th_TH |
dc.date.accessioned | 2021-09-29T05:12:29Z | |
dc.date.available | 2021-09-29T05:12:29Z | |
dc.date.issued | 2564-09 | |
dc.identifier.citation | วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 15,3 (ก.ค. - ก.ย. 2564) : 294-309 | th_TH |
dc.identifier.issn | 2672-9415 | |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/5410 | |
dc.description.abstract | การเดินและการใช้จักรยานเป็นกิจกรรมทางกายรูปแบบหนึ่งที่ประชาชนสามารถทำได้อย่างสม่ำเสมอในชีวิตประจำวัน ซึ่งส่งผลดีต่อสุขภาพ สิ่งแวดล้อมและเศรษฐกิจ การศึกษานี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ประเมินกระบวนการดำเนินงานส่งเสริมการเดินและใช้จักรยานโดยภาคีต่างๆ ในชุมชน 2) ประเมินช่องว่างการดำเนินงานส่งเสริมการเดินและใช้จักรยานในชุมชน และ 3) เสนอแนะแนวทางการส่งเสริมการเดินและใช้จักรยานในชุมชน ผู้วิจัยได้ใช้กระบวนการวิจัยเชิงคุณภาพ วิธีการเก็บข้อมูลคือการสัมภาษณ์เชิงลึกผู้เกี่ยวข้องในการบริหารจัดการส่งเสริมการเดินและใช้จักรยาน จำนวน 28 คน ใน 4 ชุมชน 4 ภูมิภาค คือ 1) ชุมชนสมเด็จพระเจ้าตากสิน อ.บางคล้า จ.ฉะเชิงเทรา 2) ชุมชนสุขสบายใจ อ.เมือง จ.กาฬสินธุ์ 3) ชุมชนโรงเรียนเทศบาลบ้านเขานิเวศน์ อ.เมือง จ.ระนอง และ 4) ชุมชนบ้านธาตุสบแวน อ.เชียงคำ จ.พะเยา การวิเคราะห์ข้อมูลใช้วิธีวิเคราะห์เนื้อหา ผลการศึกษาพบว่า ภาคีหลักในการส่งเสริมการเดินและการใช้จักรยานในชีวิตประจำวันมี 3 กลุ่ม ได้แก่ หน่วยงานราชการ ประชาสังคม และวิชาการ โดยมีบทบาทและกลไกการดำเนินงานที่แตกต่างกัน แต่เชื่อมโยงประสานกันเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ร่วมกัน ช่องว่างและความท้าทายในการดำเนินงาน คือ ทัศนคติเชิงลบต่อการเดินและการใช้จักรยาน และปัญหาด้านสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ไม่เหมาะสมหรือไม่ปลอดภัย ข้อเสนอแนะในการดำเนินงานต่อ คือ การสื่อสารให้เกิดค่านิยมเชิงบวก ปรับปรุงสภาพแวดล้อมทางกายภาพโดยเฉพาะการลดความเร็วของยานพาหนะในชุมชน และการมีนโยบายสนับสนุนการเดินและการใช้จักรยานในชีวิตประจำวันที่เหมาะสมกับบริบทของพื้นที่ | th_TH |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.subject | กิจกรรมทางกาย | th_TH |
dc.subject | Physical Activity | th_TH |
dc.subject | การสร้างเสริมสุขภาพ | th_TH |
dc.subject | นโยบายด้านสุขภาพ | th_TH |
dc.subject | การเดิน | th_TH |
dc.subject | Walking | th_TH |
dc.subject | จักรยาน | th_TH |
dc.subject | Cycling | th_TH |
dc.title | การส่งเสริมการเดินและใช้จักรยานในชีวิตประจำวัน: กรณีศึกษา 4 ชุมชนในประเทศไทย | th_TH |
dc.title.alternative | Promoting Walking and Cycling in Daily Life: A Case Study of four Communities in Thailand | th_TH |
dc.type | Article | th_TH |
dc.description.abstractalternative | Walking and cycling are common physical activities that can be performed regularly in daily life which provide health, environmental and economic benefits. This study aimed to 1) assess community-level walking and cycling promotion strategies or activities by stakeholders in selected communities, 2) investigate implementation gaps and 3) provide recommendations on walking and cycling promotion in community. Qualitative method was employed. A total 28 key informants in 4 communities of 4 regions were recruited: 1) King Taksin community in Bangkhla district, Chachoengsao province, 2) Suksabaijai community in Mueang Kalasin district, Kalasin province, 3) Ban Khaoniwet municipality school community in Mueang Ranong district, Ranong province, and 4) Ban Thatsobvan community in Chiang Kham district, Phayao province. Content analysis was used. The results showed that three main actors to promote walking and cycling in community were local government, civil society, and academia. These actors had different roles but worked collaboratively to achieve common goals. The implementation gaps were the negative attitude as well as improper and unsafe built environments towards walking and cycling. Recommendations for further program implementation include communication campaign to promote positive attitude and social awareness on the value of walking and cycling, improvements on built environments especially a speed reduction intervention in community, and leadership and supportive policy towards walking and cycling in daily life. | th_TH |
.custom.citation | ฐิติกร โตโพธิ์ไทย, Thitikorn Topothai, ชมพูนุท โตโพธิ์ไทย, Chompoonut Topothai, อัจจิมา มีพริ้ง and Atjima Meepring. "การส่งเสริมการเดินและใช้จักรยานในชีวิตประจำวัน: กรณีศึกษา 4 ชุมชนในประเทศไทย." 2564. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5410">http://hdl.handle.net/11228/5410</a>. | |
.custom.total_download | 1385 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 29 | |
.custom.downloaded_this_year | 590 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 137 |
ผลงานวิชาการเหล่านี้เป็นลิขสิทธิ์ของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข หากมีการนำไปใช้อ้างอิง โปรดอ้างถึงสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในฐานะเจ้าของลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติสงวนลิขสิทธิ์สำหรับการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ |
Fulltext
This item appears in the following Collection(s)
-
Articles [1352]
บทความวิชาการ