Show simple item record

Factor Affecting Length of Stay More Than 6 Hours in Emergency Department

dc.contributor.authorกรกต ปล้องทองth_TH
dc.contributor.authorKorakot Plongthongth_TH
dc.contributor.authorบริบูรณ์ เชนธนากิจth_TH
dc.contributor.authorBoriboon Chenthanakijth_TH
dc.contributor.authorบวร วิทยชำนาญกุลth_TH
dc.contributor.authorBorwon Wittayachamnankulth_TH
dc.contributor.authorปริญญา เทียนวิบูลย์th_TH
dc.contributor.authorParinya Tianwiboolth_TH
dc.contributor.authorพิชญุตม์ ภิญโญth_TH
dc.contributor.authorPhichayut Phinyoth_TH
dc.contributor.authorธีรพล ตั้งสุวรรณรักษ์th_TH
dc.contributor.authorTheerapon Tangsuwanarukth_TH
dc.date.accessioned2021-09-30T04:04:24Z
dc.date.available2021-09-30T04:04:24Z
dc.date.issued2564-09
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 15,3 (ก.ค. - ก.ย. 2564) : 381-390th_TH
dc.identifier.issn2672-9415
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/5416
dc.description.abstractภูมิหลังและเหตุผล การใช้เวลาในแผนกฉุกเฉินนานส่งผลต่อระยะเวลาการนอนโรงพยาบาลที่ยาวนานขึ้น การเสียชีวิตที่เพิ่มขึ้นของผู้ป่วย ตลอดจนเพิ่มการใช้ทรัพยากรและงบประมาณ การทราบถึงปัจจัยที่ส่งผลต่อระยะเวลาที่ผู้ป่วยอยู่ในแผนกฉุกเฉิน จะนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพในการดูแลรักษาผู้ป่วยให้ดีขึ้น ระเบียบวิธีศึกษา ศึกษาเชิงวิเคราะห์แบบย้อนหลัง โดยเก็บข้อมูลจากระบบฐานข้อมูลเวชระเบียนอิเล็กทรอนิกส์ของโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ ตั้งแต่เดือนมกราคม ปี 2561 จนถึงเดือนมิถุนายน ปี 2562 ศึกษาปัจจัยที่ทำให้ผู้ป่วยอยู่ในแผนกฉุกเฉินนานมากกว่า 6 ชั่วโมงในผู้ป่วยที่ได้รับการวางแผนรักษาต่อในหอผู้ป่วยโดยใช้การวิเคราะห์แบบถดถอยพหุโลจิสติกส์ ผลการศึกษา ผู้ป่วยที่นำเข้าการศึกษามีจำนวน 330 ราย เป็นผู้ที่อยู่ในแผนกฉุกเฉินนานมากกว่า 6 ชั่วโมงจำนวน 165 ราย ปัจจัยที่ส่งผลให้ผู้ป่วยมีระยะเวลาอยู่ในแผนกฉุกเฉินนานมากกว่า 6 ชั่วโมง ได้แก่ การส่งตรวจปัสสาวะ (adjusted odds ratio [aOR] 3.43, 95% CI 2.05-5.73, p<0.01) นอกจากนี้การเข้ารับการตรวจในช่วงเวรบ่ายและเวรดึกมีระยะเวลาในแผนกฉุกเฉินสั้นกว่า (aOR 0.26, 95% CI 0.15-0.47, p<0.01 และ aOR 0.40, 95% CI 0.21-0.77, p<0.01 ตามลำดับ) ส่วนประเภทผู้ป่วยเข้ารับการรักษาในแผนกฉุกเฉิน พบว่าการที่ผู้ป่วยถูกส่งตัวมารักษาต่อ จะมีระยะเวลาในแผนกฉุกเฉินสั้นกว่ากลุ่มที่เดินทางมาเอง (aOR 0.33, 95% CI 0.15-0.70, p<0.01) สรุปผลการศึกษา ปัจจัยสำคัญที่ทำให้ผู้ป่วยอยู่ในแผนกฉุกเฉินนานมากกว่า 6 ชั่วโมงก่อนเข้าพักในโรงพยาบาล ได้แก่ การส่งตรวจปัสสาวะ การเข้ารับการตรวจในช่วงเวรเช้า ส่วนผู้ป่วยที่มาด้วยการส่งต่อเป็นปัจจัยที่ทำให้ผู้ป่วยอยู่ในแผนกฉุกเฉินน้อยกว่า 6 ชั่วโมงth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectแผนกฉุกเฉินth_TH
dc.subjectผู้ป่วยฉุกเฉินth_TH
dc.subjectบริการสาธารณสุขth_TH
dc.subjectการบริหารโรงพยาบาลth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับระยะเวลาที่ผู้ป่วยอยู่ในแผนกฉุกเฉินนานมากกว่า 6 ชั่วโมงth_TH
dc.title.alternativeFactor Affecting Length of Stay More Than 6 Hours in Emergency Departmentth_TH
dc.typeArticleth_TH
dc.description.abstractalternativeBackground & Rationale: Extended length of stay (LOS) in the emergency department (ED) affects LOS in hospital, increased mortality and increased hospital resource uses. Knowing factors affecting extended ED LOS should lead to improved patient’s quality of care. Methodology: The study design was a retrospective analytical study in ED at Maharaj Nakorn Chiang Mai Hospital between January 2018 to June 2019 by collecting data from the electronic medical records. Data collection included factors expected to extend ED LOS 6 hours and longer by using multivariable logistics regression. Result: A total of 330 patients of whom 165 with ED LOS ≥ 6 hours were eligible. The risk factor for staying 6 hours and longer in the ED was having urine investigation (adjusted odds ratio [aOR] 3.43, 95% CI 2.05-5.73, p < 0.01). Moreover, patients in the evening and night shifts observed a shorter ED LOS compared to the day shift (aOR 0.26, 95% CI 0.15-0.47, p < 0.01 and aOR 0.40, 95% CI 0.21-0.77, p < 0.01, respectively). For patient presentation to ED, the refer-in patients had a shorter ED LOS compared to the walk-in patients (aOR 0.33, 95% CI 0.15-0.70, p < 0.01). Conclusion: The factors extending ED LOS ≥ 6 hours included urine investigation process and the day shift. Refer-in patients were likely to have a shortened ED LOS.th_TH
dc.subject.keywordEmergency Departmentth_TH
.custom.citationกรกต ปล้องทอง, Korakot Plongthong, บริบูรณ์ เชนธนากิจ, Boriboon Chenthanakij, บวร วิทยชำนาญกุล, Borwon Wittayachamnankul, ปริญญา เทียนวิบูลย์, Parinya Tianwibool, พิชญุตม์ ภิญโญ, Phichayut Phinyo, ธีรพล ตั้งสุวรรณรักษ์ and Theerapon Tangsuwanaruk. "ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับระยะเวลาที่ผู้ป่วยอยู่ในแผนกฉุกเฉินนานมากกว่า 6 ชั่วโมง." 2564. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5416">http://hdl.handle.net/11228/5416</a>.
.custom.total_download6567
.custom.downloaded_today2
.custom.downloaded_this_month181
.custom.downloaded_this_year2174
.custom.downloaded_fiscal_year493

Fulltext
Icon
Name: hsri-journal-v15n ...
Size: 281.1Kb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

  • Articles [1352]
    บทความวิชาการ

Show simple item record