แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

จีโนไทป์ของยีนเอชแอลเอคลาสหนึ่งและสองโดยเทคโนโลยีการวิเคราะห์ลำดับเบสแบบโมเลกุลเดี่ยวในผู้ป่วยไทยที่ได้รับการปลูกถ่ายไต

dc.contributor.authorยิ่งยศ อวิหิงสานนท์th_TH
dc.contributor.authorYingyos Avihingsanontth_TH
dc.contributor.authorปาจรีย์ จริยวิลาศกุลth_TH
dc.contributor.authorPajaree Chariyavilaskulth_TH
dc.contributor.authorมนพัทธ์ ชำนาญพลth_TH
dc.contributor.authorMonpat Chammanphonth_TH
dc.contributor.authorสุวศิน อุดมกาญจนนันท์th_TH
dc.contributor.authorSuwasin Udomkarnjananunth_TH
dc.contributor.authorณัฐวุฒิ โตวนำชัยth_TH
dc.contributor.authorNatavudh Townamchaith_TH
dc.contributor.authorเกื้อเกียรติ ประดิษฐ์พรศิลป์th_TH
dc.contributor.authorKearkiat Praditpornsilpth_TH
dc.contributor.authorณัฏฐิยา หิรัญกาญจน์th_TH
dc.contributor.authorNattiya Hirankarnth_TH
dc.contributor.authorมนนัทธ์ พงษ์พานิชth_TH
dc.contributor.authorMonnat Pongpanichth_TH
dc.date.accessioned2021-10-08T03:23:43Z
dc.date.available2021-10-08T03:23:43Z
dc.date.issued2564-09
dc.identifier.otherhs2712
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/5422
dc.description.abstractการปลูกถ่ายอวัยวะเป็นวิธีการรักษาที่ช่วยต่อชีวิตใหม่ให้แก่ผู้ป่วยที่หมดหวังที่จะรักษาด้วยวิธีการอื่นๆ เพื่อให้มีชีวิตอยู่ต่อไปได้ ไตเป็นอวัยวะที่มีการปลูกถ่ายมากที่สุดในประเทศไทยตลอดระยะเวลากว่า 50 ปีที่ผ่านมา ถึงแม้ว่าวิทยาการด้านเทคนิคการผ่าตัดและการรักษาหลังผ่าตัดจะก้าวหน้าไปอย่างมาก แต่ปัญหาอัตรารอดของไตที่ปลูกถ่ายในระยะยาวยังไม่ดีขึ้น ซึ่งอธิบายได้จากการตรวจความหลากหลายทางพันธุกรรมของ Human Leukocyte Antigen (HLA) ในปัจจุบันใช้เทคนิค polymerase chain reaction-sequence specific oligonucleotide (PCR-SSO, Luminex®) ซึ่งมีความละเอียดในระดับปานกลาง ผู้วิจัยได้ทำการตรวจวัดความหลากหลายทางพันธุกรรมของยีน HLA ของผู้บริจาคและผู้รับบริจาคไต 330 ราย ด้วยเทคนิคการวิเคราะห์ลำดับเบสแบบโมเลกุลเดี่ยว Long-Read Single Molecule Real-Time (SMRT) Sequencing และพบว่า HLA long-read mismatch score มีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญกับ any type of rejection at 1 year post transplantation และการเกิด any episode of graft rejection from transplantation to year 2021 ดีกว่า HLA mismatch score เดิม ข้อมูลลำดับเบสของ HLA long-read ที่ได้จากการวิจัยนี้สามารถใช้เป็นฐานข้อมูลลำดับเบสอ้างอิงของ HLA allele ในคนไทย ทั้งนี้เพื่อให้ฐานข้อมูลลำดับเบสอ้างอิงนี้มีความสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น สมควรมีการเก็บตัวอย่างเพื่อทำ HLA long-read ต่อเนื่องและติดตามผู้รับบริจาคไตในระยะยาวต่อไป และควรมีการทำการวิจัยแบบไปข้างหน้าเปรียบเทียบระหว่างการคัดเลือกผู้บริจาคและผู้รับบริจาคไตโดยใช้ HLA Luminex score กับ HLA long-read score แบบหลากหลายสถาบันเพื่อศึกษาผลลัพธ์ที่สำคัญที่ไม่สามารถวิเคราะห์ได้จากการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ การตายและการสูญเสียไตที่ปลูกถ่ายth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectโรคไตth_TH
dc.subjectไต, การรักษาth_TH
dc.subjectKidney Diseasesth_TH
dc.subjectไต, การปลูกถ่ายth_TH
dc.subjectKidney--Transplantationth_TH
dc.subjectโมเลกุล--การวิเคราะห์th_TH
dc.subjectMolecules--Analysisth_TH
dc.subjectจีโนมมนุษย์th_TH
dc.subjectHuman Genometh_TH
dc.subjectสารพันธุกรรมth_TH
dc.subjectพันธุศาสตร์มนุษย์th_TH
dc.subjectHuman Geneticsth_TH
dc.subjectการปลูกถ่ายอวัยวะth_TH
dc.subjectOrgan Transplantationth_TH
dc.subjectการบริการสุขภาพ (Health Service Delivery)th_TH
dc.subjectMoleculesth_TH
dc.subjectโมเลกุลth_TH
dc.titleจีโนไทป์ของยีนเอชแอลเอคลาสหนึ่งและสองโดยเทคโนโลยีการวิเคราะห์ลำดับเบสแบบโมเลกุลเดี่ยวในผู้ป่วยไทยที่ได้รับการปลูกถ่ายไตth_TH
dc.title.alternativeFull-length HLA Class I and II genotyping with long-read singlemolecule real-time sequencing in Thai kidney transplantationth_TH
dc.typeTechnical Reportth_TH
dc.description.abstractalternativeOrgan transplantation is the treatment in patients with organ failure where kidney is the organ with the highest rate of transplantation in Thailand. Despite 50 years of an advancement in transplant surgical techniques and post-transplantation care, long-term kidney graft survival is not changed. One of the factor would be that the HLA matching technique used is polymerase chain reaction-sequence specific oligonucleotide (PCR-SSO, Luminex®) which has intermediate resolution for detecting variations in HLA gene. We conducted a HLA sequencing of 330 kidney transplant donors and recipients using Long-Read Single Molecule Real-Time (SMRT) Sequencing and observed the significant association of HLA long-read mismatch score to any type of rejection at 1 year post transplantation and any episode of graft rejection from transplantation to year 2021. This association was better than HLA Luminex mismatch score calculated with PCR-SSO technique. The HLA long-read sequencing information obtained from this study can be used as a reference allele for Thai population. There should be more population sequenced with HLA-long read technique to enhance robustness of the reference database. A prospective multicenter study comparing allocation of donor-recipients with HLA Luminex score versus HLA long-read score is warranted to evaluate outcomes such as death or allograft failure which were not be able to assessed in this study.th_TH
dc.identifier.callnoWJ340 ย264จ 2564
dc.identifier.contactno63-108
dc.subject.keywordHuman Leukocyte Antigenth_TH
dc.subject.keywordHLAth_TH
dc.subject.keywordSingle-molecule Sequencingen_EN
.custom.citationยิ่งยศ อวิหิงสานนท์, Yingyos Avihingsanont, ปาจรีย์ จริยวิลาศกุล, Pajaree Chariyavilaskul, มนพัทธ์ ชำนาญพล, Monpat Chammanphon, สุวศิน อุดมกาญจนนันท์, Suwasin Udomkarnjananun, ณัฐวุฒิ โตวนำชัย, Natavudh Townamchai, เกื้อเกียรติ ประดิษฐ์พรศิลป์, Kearkiat Praditpornsilp, ณัฏฐิยา หิรัญกาญจน์, Nattiya Hirankarn, มนนัทธ์ พงษ์พานิช and Monnat Pongpanich. "จีโนไทป์ของยีนเอชแอลเอคลาสหนึ่งและสองโดยเทคโนโลยีการวิเคราะห์ลำดับเบสแบบโมเลกุลเดี่ยวในผู้ป่วยไทยที่ได้รับการปลูกถ่ายไต." 2564. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5422">http://hdl.handle.net/11228/5422</a>.
.custom.total_download14
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year3
.custom.downloaded_fiscal_year0

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hs2712.pdf
ขนาด: 6.891Mb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย