Show simple item record

The Lesson Learned of Implementation Role for Surveillance, Prevention and Control of Coronavirus Disease 2019 (COVID-19) in Communities Among Village Health Volunteers in North Eastern, Thailand

dc.contributor.authorฉวีวรรณ ศรีดาวเรืองth_TH
dc.contributor.authorChaweewan Sridawruangth_TH
dc.contributor.authorจิราพร วรวงศ์th_TH
dc.contributor.authorChiraporn Worawongth_TH
dc.contributor.authorเพ็ญนภา ศรีหริ่งth_TH
dc.contributor.authorPennapa Sriringth_TH
dc.contributor.authorรัตน์ดาวรรณ คลังกลางth_TH
dc.contributor.authorRatdawan Klungklangth_TH
dc.contributor.authorจุฬารัตน์ ห้าวหาญth_TH
dc.contributor.authorChularat Howharnth_TH
dc.contributor.authorดิษฐพล ใจซื่อth_TH
dc.contributor.authorDittaphol Jaisueth_TH
dc.contributor.authorอภิรดี เจริญนุกูลth_TH
dc.contributor.authorApiradee Charoennukulth_TH
dc.contributor.authorทิพาวรรณ สมจิตรth_TH
dc.contributor.authorThipawan Somjitth_TH
dc.contributor.authorชลดา กิ่งมาลาth_TH
dc.contributor.authorChonlada Kingmalath_TH
dc.contributor.authorปณิตา ครองยุทธth_TH
dc.contributor.authorPanita Krongyuthth_TH
dc.date.accessioned2021-10-28T06:40:48Z
dc.date.available2021-10-28T06:40:48Z
dc.date.issued2564-07
dc.identifier.otherhs2717
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/5427
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อถอดบทเรียนการดำเนินงาน เฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคโควิด-19 ปัจจัยความสำเร็จ ปัญหาอุปสรรคและสังเคราะห์ข้อเสนอเชิงนโยบายในการพัฒนาการดำเนินงานเฝ้าระวังฯ ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) โดยใช้กระบวนการถอดบทเรียน 5 ขั้นตอน : ขั้นเตรียมพร้อม ขั้นเก็บรวบรวมข้อมูล ขั้นการตรวจสอบสังเคราะห์ข้อมูล ขั้นการจัดเก็บข้อมูล ขั้นเผยแพร่การถอดบทเรียน การเก็บรวบรวมข้อมูลวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ช่วงเดือนกุมภาพันธ์-พฤษภาคม 2564 การสอบถามการดำเนินงานเฝ้าระวังฯ 5 ด้าน เก็บรวบรวมจากอสม. จำนวน 207 คน และการสัมภาษณ์เจาะลึกผู้บริหารกระทรวงสาธารณสุขส่วนกลาง เขตสุขภาพ ผู้รับผิดชอบศูนย์ปฏิบัติการควบคุมโรคระดับ จังหวัด อำเภอ ตำบล อสม. และประชาชน จาก 8 จังหวัด เขตสุขภาพที่ 7, 8, 9 และ 10 รวม 561 คน วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณใช้สถิติเชิงพรรณนาและสถิติอนุมาน คือ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและสมการถดถอยโลจิสติกส์พหุ วิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพการดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ในชุมชนของอาสาสมัครสาธารณสุข ปัจจัยความสำเร็จและปัญหาอุปสรรค ผลการศึกษาจากการสอบถามอสม. พบว่า การดำเนินงานเฝ้าระวังฯ โควิด -19 ในชุมชนของอสม. พบว่า อสม. มีการดำเนินงานสูงสุด คือ ค้นหาคัดกรองกลุ่มเสี่ยง (97.6%) รองลงมา คือ เคาะประตูเยี่ยมบ้านติดตามสังเกตอาการ (89.4%) ประสานงานกับหน่วยงานอื่นๆ (87.9%) บันทึกรายงานผลการดำเนินงาน (86.0%) จัดทำบัญชีรายชื่อกลุ่มเสี่ยง แยกกลุ่มเสี่ยงเพื่อสังเกตอาการ (84.5%) ตามลำดับ ปัจจัยที่มีผลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติต่อการดำเนินงานเป็นประจำทั้ง 5 ขั้นตอน คือ อาชีพของอสม. เขตสุขภาพ และช่องทางการสื่อสาร โดยพบว่า อสม. กลุ่มที่มีอาชีพเกษตรกร มีการดำเนินงานเป็นประจำ คิดเป็น 6.87 เท่า ของอสม. ที่มีอาชีพอื่นๆ (95% CI 2.63-17.91, p-value<0.001) อสม. ในเขตสุขภาพที่ 10 มีการดำเนินงานเป็นประจำ คิดเป็น 2.76 เท่า ของอสม. ในเขตสุขภาพที่ 7, 8 และ 9 (95% CI 1.17-6.53, p-value 0.021) และ อสม. สื่อสารข้อมูลผ่าน 5 ช่องทางเป็นประจำให้กับชุมชน ประกอบด้วย การแจ้งข่าวเชิงรุกตามบ้าน ออกเสียงตามสาย เดินแจกแผ่นพับ เอกสารความรู้ แจ้งทางกลุ่มไลน์ชุมชน โทรศัพท์แจ้ง การบอกรายบุคคล การแจ้งตามคุ้ม แจ้งในที่ประชุม คิดเป็น 3.98 เท่า ของอสม. ที่ใช้ช่องทางน้อยกว่า (95% CI 1.61-9.84, p-value 0.003) การนำนโยบายการเฝ้าระวังฯ สู่การปฏิบัติในพื้นที่ พบว่า อสม. เป็นกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนการเฝ้าระวังฯ ในระดับตำบลและหมู่บ้าน มีการป้องกันตนเอง เคาะประตูเยี่ยมบ้าน กับเครือข่าย รายงานผลการดำเนินงานตามขั้นตอน ปัจจัยความสำเร็จมาจากอสม. คือ ความตั้งใจ มีจิตอาสา เป็นคนในพื้นที่ มีการทำงานร่วมกันของภาคีเครือข่ายและความร่วมมือชุมชน สิ่งสนับสนุน ค่าตอบแทนและการกำกับติดตาม อุปสรรคการดำเนินงานจากปัจจัยด้านอสม. คือ ขาดความรู้และทักษะ ขาดแนวทางการทำงาน อุปกรณ์ไม่เพียงพอ ระดับการมีส่วนร่วมของภาคีและประชาชน ข้อเสนอเชิงนโยบาย อสม. ควรได้รับการพัฒนาความรู้และศักยภาพการทำงานด้านการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคในชุมชน การจัดทำคู่มือ/แนวทางการทำงานสำหรับอสม. การบริหารจัดการระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและบูรณาการการทำงานแบบมีส่วนร่วมของเครือข่ายth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectCOVID-19 (Disease)th_TH
dc.subjectCoronavirusesth_TH
dc.subjectCoronavirus Infectionsth_TH
dc.subjectโควิด-19 (โรค)th_TH
dc.subjectการติดเชื้อไวรัสโคโรนาth_TH
dc.subjectไวรัสโคโรนาth_TH
dc.subjectอาสาสมัครสาธารณสุขth_TH
dc.subjectอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านth_TH
dc.subjectHealth Volunteersth_TH
dc.subjectVillage Health Volunteersth_TH
dc.subjectโควิด-19 (โรค)--การป้องกันและควบคุมth_TH
dc.subjectการบริการสุขภาพ (Health Service Delivery)th_TH
dc.subjectPrevention & Controlen_EN
dc.titleการถอดบทเรียนรูปแบบการดำเนินงาน เฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในชุมชนของอาสาสมัครสาธารณสุข ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประเทศไทยth_TH
dc.title.alternativeThe Lesson Learned of Implementation Role for Surveillance, Prevention and Control of Coronavirus Disease 2019 (COVID-19) in Communities Among Village Health Volunteers in North Eastern, Thailandth_TH
dc.typeTechnical Reportth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research aimed to explore the roles of village health volunteers (VHV), implement processes of surveillance, prevention and control (IPC) of COVID-19 in communities among Village Health Volunteers (VHV) with key success factors and barriers. Moreover, policy suggestions were provided. This research captured lessons learned in 5 steps: define the project; collect data; verify and synthesize; store and disseminate. Methodological approaches were quantitative and qualitative parts. Surveys of 207 VHV took place in February-May 2021. Participants were recruited to take part in-depth interviews that they were VHV, policy makers and executive committees of Center of Disease Control (COVID-19 situation administration) at level of Province, District, and Sub-district in Health Region 7,8,9,10. The survey data were analyzed using descriptive and inferential statistics including frequency, percentage, mean, standard deviation and multiple logistic regression. Content analysis of interview transcripts identified IPC implement processes of COVID-19, key success factors and barriers. Findings showed that VHV had worked on 5 IPC components including searching and screening for COVID-19 in high-risk groups (97.6%), home visits for person who might have been exposed to COVID-19 (89.4%), collaborated with other organizations (87.9%), completed a record and reported (86.0%), reported and separate of high-risk groups (84.5%). Regarding to IPC of COVID-19 implementation, the level of implementation was top-down direction from national policy to area based practices. The factors statistically significantly related to IPC practices in communities were occupation, Public Health Region and multiple communication channels to the communities. It was found that the farmers VHV took place on 5 components of IPC 6.87 times more regularly than those who had other occupations (95% CI 2.63-17.91, p-value<0.001). VHV working for the Public Health Region 9 had 2.76 times more regularly in practice than other Northeastern Region (95% CI 1.17-6.53, p-value 0.021). The VHV who used more than 5 channels in provided information of COVID-19 to local people in communities included home visit; local audio announcement; leaflet; documents; and online media had 3.98 time more regularly in practices than VHV who used less than 5 channels to communicate in publicly (95% CI 1.61-9.84, P-Value 0.003). VHV who had the role to coordinate with local team network had more 6.55 time than VHV who did not take action on this role. (95% CI 0.88-48.59, P-Value 0.066). In the implement policy to practice, VHV were key persons working on control COVID-19 in their villages. They had kept taking steps to protect themselves avoiding exposure to the virus, Home visit by knocking the door with team network. Key success factors were VHV were local people with high intention, collaboration with team network and village people. VHV got facilities both financial and none-financial support, and monitoring. VHV had some barriers of their works such as their knowledge and skills of IPC, unclear IPC guidelines, level of corporate from other organizations, unclear information of policy implementation, Inadequate supplies of appropriate IPC devices, and unawareness from people. Therefore, the development should be composed of redesign of administration, capacity building providing for VHV, the support of facilities, the management of health information technology, and collaboration with network.th_TH
dc.identifier.callnoWC503 ฉ179ก 2564
dc.identifier.contactno64-015
.custom.citationฉวีวรรณ ศรีดาวเรือง, Chaweewan Sridawruang, จิราพร วรวงศ์, Chiraporn Worawong, เพ็ญนภา ศรีหริ่ง, Pennapa Sriring, รัตน์ดาวรรณ คลังกลาง, Ratdawan Klungklang, จุฬารัตน์ ห้าวหาญ, Chularat Howharn, ดิษฐพล ใจซื่อ, Dittaphol Jaisue, อภิรดี เจริญนุกูล, Apiradee Charoennukul, ทิพาวรรณ สมจิตร, Thipawan Somjit, ชลดา กิ่งมาลา, Chonlada Kingmala, ปณิตา ครองยุทธ and Panita Krongyuth. "การถอดบทเรียนรูปแบบการดำเนินงาน เฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในชุมชนของอาสาสมัครสาธารณสุข ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประเทศไทย." 2564. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5427">http://hdl.handle.net/11228/5427</a>.
.custom.total_download946
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month5
.custom.downloaded_this_year45
.custom.downloaded_fiscal_year11

Fulltext
Icon
Name: hs2717.pdf
Size: 2.156Mb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record