รายการใหม่

  • ความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ ผลกระทบด้านงบประมาณ และความเป็นไปได้ของมาตรการการคัดกรองเบาหวานในประชากรไทย 

    สุคนธา คงศีล; Sukhontha Kongsin; วีรชัย ศรีวณิชชากร; Weerachai Srivanichakorn; เพชร รอดอารีย์; Petch Rawdaree; ณัฐนารี เอมยงค์; Natnaree Aimyong; พิจิตรพงศ์ สุนทรพิพิธ; Pichitpong Soontornpipit; ณฐมน พรมอ่อน; Nathamon Prom-On; รมนปวีร์ บุญใหญ่; Ramonpawee Boonyai; สุขุม เจียมตน; Sukhum Jiamton (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2568-05)
    บทนำ: การใช้ระบบประเมินความเสี่ยงและการคัดกรอง ในผู้ที่มีความเสี่ยงที่จะเกิดโรคเบาหวาน หรือผู้ที่มีภาวะก่อนเบาหวาน มีเครื่องมือหลายอย่าง และแต่ละอย่างมีข้อดี/ข้อจำกัดในการวินิจฉัยโรคเบาหวานและการทำนายการเป็นเบาหวานในอนาคต ...
    ป้ายกำกับ:
  • การเปรียบเทียบบริการสุขภาพสำหรับดูแลผู้ป่วยอาการเจ็บป่วยเล็กน้อยที่ร้านยากับแผนกผู้ป่วยนอกที่โรงพยาบาล : การศึกษาเชิงคุณภาพ 

    ตวงรัตน์ โพธะ; Tuangrat Phodha; ศรวณีย์ อวนศรี; Sonvanee Uansri; กุสาวดี เมลืองนนท์; Kusawadee Maluangnon; ปรุฬห์ รุจนธำรงค์; Parun Rutjanathamrong; กิตติยา จันทรธานีวัฒน์; Kittiya Jantarathaneewat; ศิริรัตน์ จตุรพูลลาภ; Sirirat Jaturapullarp; พีรพัฒน์ ทรัพย์พฤทธิกุล; Pheeraphat Sarppreuttikun; ฐิติณัชช์ เด็ดแก้ว; Thitinat Dedkaew; ธนะวัฒน์ วงศ์ผัน; Thanawat Wongphan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2568-05)
    ที่มา การเปรียบเทียบบริการสุขภาพสำหรับผู้ป่วยที่มีอาการเจ็บป่วยเล็กน้อยระหว่างร้านยาและแผนกผู้ป่วยนอกของโรงพยาบาลมีความสำคัญต่อการทำความเข้าใจพฤติกรรมและปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการสุขภาพของประชาชน ...
    ป้ายกำกับ:
  • การพัฒนาและทดสอบความตรงของแบบวัดฉบับย่อสำหรับการสำรวจความรอบรู้ด้านการใช้ยาอย่างสมเหตุผลของคนไทย 

    ตวงรัตน์ โพธะ; Tuangrat Phodha; สมหญิง พุ่มทอง; Somying Pumtong; เพ็ญกาญจน์ กาญจนรัตน์; Penkarn Kanjanarat; กุสาวดี เมลืองนนท์; Kusawadee Maluangnon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2568-03)
    ที่มา ความรอบรู้ด้านการใช้ยาอย่างสมเหตุผล เป็นเป้าหมายด้านสุขภาพที่สำคัญของประเทศไทย จำเป็นต้องมีการวิเคราะห์ลักษณะของกลุ่มเป้าหมายเพื่อให้การดำเนินงานการออกแบบมาตรการหรือกิจกรรมเป็นไปอย่างจำเพาะเจาะจง และเกิดประสิทธิผลต ...
    ป้ายกำกับ:
  • การประเมินผลเชิงพัฒนานโยบาย 30 บาทรักษาทุกที่ ด้วยบัตรประชาชนใบเดียว ในพื้นที่นําร่อง 

    ปฤษฐพร กิ่งแก้ว; Pritaporn Kingkaew; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon; วรรณฤดี อิสรานุวัฒน์ชัย; Wanrudee Isaranuwatchai; นิธิเจน กิตติรัชกุล; Nitichen Kittiratchakool; วิลาวรรณ ล้วนคงสมจิตร; Vilawan Luankongsomchit; ขวัญพุทธา อรุณประเสริฐ; Kwanputtha Arunprasert; พรอุมา ราศรี; Pornuma Rasri; ปภาดา ราญรอน; Papada Ranron; ศุภสุดา โพธิ์โสรีย์; Supasuda Posoree; นิชาต์ มูลคำ; Nicha Moonkham; นุชพงศ์ จงโชติชัชวาลย์; Nuchapong Jongchotchatchawal; วิศวะ มาลากรรณ; Wissawa Malakan; วิลาสินี สำเนียง; Wilasinee Samniang; ธนกร เจริญกิตติวุฒ; Thanakorn Jalearnkittiwut; อานนท์ กุลธรรมานุสรณ์; Anond Kulthanmanusorn; ศรวณีย์ อวนศรี; Sonvanee Uansri; ศิริกัลยาณ์ สุจจชารี; Sirikanlaya Sujjacharee; พิสภาสินี พิศาลสินธุ์; Pispasinee Pisansin (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2568-01)
    นโยบาย “30 บาท รักษาทุกที่ ด้วยบัตรประชาชนใบเดียว” เป็นนโยบายภาครัฐจากแผนขับเคลื่อนนโยบายกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2567 ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อยกระดับระบบบริการสุขภาพให้เกิดการเชื่อมโยงข้อมูลสุขภาพจากหน่วยบริการสาธารณสุขทุกระ ...
    ป้ายกำกับ:
  • การจัดทำร่างแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 13 พ.ศ. .... 

    รพีสุภา หวังเจริญรุ่ง; Rapeesupa Wangcharoenrung; ดิเรก สุดแดน; Derek Sutdan; วิไลลักษณ์ เรืองรัตนตรัย; Wilailuk Ruangrattanatrai; ต้องการ จิตเลิศขจร; Tongkarn Jitlerdkajorn; สุทธิ สืบศิริวิริยะกุล; Sutthi Suebsiriviriyakul; ธนวรรธน์ จาดศรี; Thanawat Chatsri; พงศ์ภัค ศรีสิงหสงคราม; Pongpak Srisinghasongkram (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-11)
    รัฐบาลได้มีการจัดทำยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2560 - 2579) เป็นแผนแม่บทหลักในการพัฒนาประเทศ (แผนระดับที่ 1) โดยมีการจัดทำแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติเพื่อให้บรรลุตามเป้าหมายที่กำหนดเอาไว้ และสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศร ...
    ป้ายกำกับ:
  • การสำรวจความรอบรู้ด้านสุขภาพของประชาชนไทย อายุ 15 ปีขึ้นไป พ.ศ. 2566 (ครั้งที่ 2) การส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพในประเทศไทย: การประเมินสถานการณ์ปัจจุบัน ปัจจัยกำหนด และข้อเสนอเชิงนโยบาย 

    ศุภฤกษ์ สื่อรุ่งเรือง; Suparerk Suerungruang; กิ่งพิกุล ชำนาญคง; Kingpikul Chamnankong; มณฑล หวานวาจา; Montol Wanwaja; สายชล คล้อยเอี่ยม; Saichon Kloyiam (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-11)
    ความเป็นมาและความสำคัญ: ความรอบรู้ด้านสุขภาพ (Health Literacy; HL) เป็นทักษะของบุคคลในการเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากข้อมูลเพื่อตัดสินใจดูแลสุขภาพของตนเองได้อย่างเหมาะสม ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญในการพัฒนาสุขภาวะของประชากร วัตถุประสงค์: ...
    ป้ายกำกับ:
  • การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนภายหลังการถ่ายโอนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลให้แก่องค์การบริหารส่วนจังหวัด ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ระยะที่ 2 การประเมินผลกระทบต่อสถานะสุขภาพและการจัดบริการสุขภาพจากการศึกษาเชิงวิเคราะห์แบบย้อนหลัง และการจัดทำกรณีศึกษา 

    จิรุตม์ ศรีรัตนบัลล์; Jiruth Sriratanaban; นภชา สิงห์วีรธรรม; Noppcha Singweratham; มโน มณีฉาย; Mano Maneechay; ดาวรุ่ง คำวงศ์; Daoroong Komwong; จิรยุทธ์ สินธุพันธุ์; Jirayudh Sinthuphan; พัลลภ เซียวชัยสกุล; Pallop Siewchaisakul; นิตย์ธิดา ภัทรธีรกุล; Nittida Pattarateerakun; สุพัสตรา เสนสาย; Supustra Sensai; ทักษิณา วัชรีบูรพ์; Tuksina Watchareeboon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-10-05)
    โครงการประเมินผลฯ ระยะที่ 2 มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประเมินผลกระทบทางสุขภาพที่มีต่อประชาชน อันอาจเป็นผลเชื่อมโยงมาจากการถ่ายโอนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) ในปีงบประมาณ 2566 ทั้งในส่วนของผลกระทบจากการให้บริการสุข ...
    ป้ายกำกับ:
  • การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนภายหลังการถ่ายโอนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลให้แก่องค์การบริหารส่วนจังหวัด ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 : ระยะที่ 1 การประเมินสัญญาณเตือนของผลกระทบต่อสถานะสุขภาพที่อาจเกิดขึ้นจากการศึกษาข้อมูลย้อนหลังและการจัดทำกรณีศึกษา 

    จิรุตม์ ศรีรัตนบัลล์; Jiruth Sriratanaban; นภชา สิงห์วีรธรรม; Noppcha Singweratham; มโน มณีฉาย; Mano Maneechay; ดาวรุ่ง คำวงศ์; Daoroong Komwong; นิตย์ธิดา ภัทรธีรกุล; Nittida Pattarateerakun; สุพัสตรา เสนสาย; Supustra Sensai; พัลลภ เซียวชัยสกุล; Pallop Siewchaisakul; ทักษิณา วัชรีบูรพ์; Tuksina Watchareeboon; อุทัยวรรณ แก้วพิจิตร; Uthaiwan Kaewpijit; บุญนริศ สายสุ่ม; Bunnaris Saisum (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09-28)
    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อค้นหาสัญญาณเตือนการเปลี่ยนแปลงเบื้องต้น (early warning sign) หรือปัจจัยเสี่ยงของการเกิดผลกระทบทางสุขภาพที่เชื่อมโยงจากการถ่ายโอนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.), (2) เพื่อศึกษาการเปล ...
    ป้ายกำกับ:
  • แบบประเมินความรอบรู้ด้านการใช้ยาอย่างสมเหตุผลสำหรับประชาชนไทย (Rational Drug Use Literacy tool: RDUL) และการแปลคะแนน 

    ตวงรัตน์ โพธะ; Tuangrat Phodha; กุสาวดี เมลืองนนท์; Kusawadee Maluangnon; เพ็ญกาญจน์ กาญจนรัตน์; Penkarn Kanjanarat; สมหญิง พุ่มทอง; Somying Pumtong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12-07)
    แบบประเมินความรอบรู้ด้านการใช้ยาอย่างสมเหตุผลสำหรับประชาชนไทย (Rational Drug Use Literacy tool: RDUL) และการแปลคะแนน พัฒนาขึ้นภายใต้โครงการวิจัยการพัฒนาเครื่องมือและประเมินความรอบรู้ด้านการใช้ยาอย่างสมเหตุผลของประชาชนไทย ...
    ป้ายกำกับ:
  • คู่มือการชะลอไตเสื่อม 

    ปัฐยาวัชร ปรากฎผล; Padthayawad Pragodpol; อรุณี ไชยฤทธิ์; Arunee Chaiyarit; อุทัยทิพย์ จันทร์เพ็ญ; Uthaitip Chanpen; กนกพร เทียนคำศรี; Kanokporn Thiankumsri; ขนิษฐา แสงทอง; Khanittha Sangthong; วงศ์ทิพารัตน์ มัณยานนท์; Wongtiparrat Manyanon; ชาญณรงค์ รุจิระชาติกุล; Channarong Ruchirachatkool (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-01)
    ปัจจุบันประเทศไทยมีผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังจำนวนมากและมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นในทุกปี ทั้งจำนวนผู้ป่วยไตเรื้อรัง ผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย ผู้ป่วยที่ต้องได้รับการบำบัดทดแทนไตและผู้ป่วยที่รอการปลูกถ่ายไต นอกจากนี้ยังต้องใช้งบประมา ...
    ป้ายกำกับ:
  • การสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 6 พ.ศ. 2562-2563 

    วิชัย เอกพลากร; Wichai Aekplakorn; หทัยชนก พรรคเจริญ; Hataichanok Puckcharern; วราภรณ์ เสถียรนพเก้า; Warapone Satheannoppakao (คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล, 2564)
    การสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกายเป็นการสำรวจระดับประเทศที่ช่วยเฝ้าระวังสภาวะทางสุขภาพประชาชนไทย การสำรวจครั้งนี้เป็นครั้งที่ 6 ดำเนินงานภาคสนามในปี พ.ศ. 2562 - 2563 ประเด็นทางสุขภาพที่ครอบคลุมในการสำรวจมีทั้งในเ ...
    ป้ายกำกับ:
  • คู่มือการประเมินเทคโนโลยีด้านสุขภาพสำหรับประเทศไทย ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2562 

    คณะทำงานพัฒนาคู่มือการประเมินเทคโนโลยีด้านสุขภาพสำหรับประเทศไทย ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2562; Guideline Development Working Group (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-02)
    คู่มือการประเมินเทคโนโลยีด้านสุขภาพสำหรับประเทศไทย ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2562 เล่มนี้ เป็นการศึกษาผลกระทบด้านบวกและลบที่เกิดขึ้น หรืออาจเกิดขึ้นจากการใช้เทคโนโลยีหรือนโยบายทั้งในปัจจุบันและอนาคต โดยมีการพัฒนาคู่มือการประเมิน ...
    ป้ายกำกับ:
  • ระบบยาของประเทศไทย 2563 

    คณะกรรมการจัดทำรายงานระบบยาของประเทศไทย 2563 (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-08)
    หนังสือ “ระบบยาของประเทศไทย 2563” หรือ “Thai Drug System 2020” เล่มนี้ นับเป็นหนังสือรายงานสถานการณ์ต่างๆ เกี่ยวกับระบบยาในประเทศไทยที่จัดทำขึ้นเป็นเล่มที่ 3 ภายหลังจากเล่มที่ 1 ที่ออกเผยแพร่เมื่อปี พ.ศ. 2537 และเล่มที่ 2 ...
    ป้ายกำกับ: