แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

การประเมินผลเชิงพัฒนา (Developmental Evaluation) โครงการนำร่องให้ผู้ป่วยรับยาที่ร้านขายยาเพื่อลดความแออัดในโรงพยาบาลร้อยเอ็ด

dc.contributor.authorพยอม สุขเอนกนันท์ โอล์สันth_TH
dc.contributor.authorPhayom Sookaneknun Olsonth_TH
dc.contributor.authorพีรยา ศรีผ่องth_TH
dc.contributor.authorPeeraya Sriphongth_TH
dc.contributor.authorจันทร์ทิพย์ กาญจนศิลป์th_TH
dc.contributor.authorJuntip Kanjanasilpth_TH
dc.contributor.authorสายทิพย์ สุทธิรักษาth_TH
dc.contributor.authorSaithip Suttiruksath_TH
dc.contributor.authorธีระพงษ์ ศรีศิลป์th_TH
dc.contributor.authorTheerapong Seesinth_TH
dc.contributor.authorเปมรินทร์ โพธิสาราชth_TH
dc.contributor.authorPemmarin Potisarachth_TH
dc.contributor.authorเพียงขวัญ ศรีมงคลth_TH
dc.contributor.authorPiangkwan Srimongkholth_TH
dc.contributor.authorปะการัง ศรีวะสุทธิ์th_TH
dc.contributor.authorPakarung Sriwasutth_TH
dc.contributor.authorนันทนิจ มีสวัสดิ์th_TH
dc.contributor.authorNanthanich Meesawatth_TH
dc.contributor.authorธีระวุฒิ มีชำนาญth_TH
dc.contributor.authorTheerawut Meechumnanth_TH
dc.contributor.authorระพิตราภรณ์ พิพัฒนมงคลth_TH
dc.contributor.authorRapitraporn Pipattanamongkonth_TH
dc.date.accessioned2022-01-24T07:17:40Z
dc.date.available2022-01-24T07:17:40Z
dc.date.issued2564-01-12
dc.identifier.otherhs2742
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/5465
dc.description.abstractการประเมินผลเชิงพัฒนา (developmental evaluation) เป็นวิธีการประเมินที่เน้นการมีส่วนร่วมของผู้วิจัยและผู้ดำเนินโครงการเพื่อส่งเสริมพัฒนาการดำเนินงานให้สามารถไปถึงเป้าหมายได้ โดยวัตถุประสงค์ในการดำเนินโครงการในครั้งนี้คือ เพื่อพัฒนากระบวนการดำเนินงานโครงการนำร่องให้ผู้ป่วยรับยาที่ร้านยา รวมทั้งระบุความเสี่ยงที่มีผลต่อการดำเนินงานและหาแนวทางในการจัดการความเสี่ยงเพื่อการพัฒนาโครงการโดยรูปแบบงานวิจัยนี้เป็นการศึกษาเชิงคุณภาพ โดยใช้การเลือกตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง โดยเลือกผู้บริหารโครงการ ผู้ดำเนินโครงการและผู้ป่วย จากนั้นใช้การสัมภาษณ์เชิงลึกทั้งทางโทรศัพท์และแบบตัวต่อตัว โดยมีบันทึกเสียงและแกะเทปแบบคำต่อคำ เครื่องมือในการสัมภาษณ์นี้พัฒนามาจากกรอบแนวคิด CIPP เพื่อการประเมินผลโครงการ เครื่องมือในการประเมินความเสี่ยงปรับปรุงจากเกณฑ์การควบคุมความเสี่ยงของมหาวิทยาลัยมหาสารคามและแนวทางการจัดกิจกรรมกลุ่ม ORID method การวิเคราะห์ข้อมูลใช้การวิเคราะห์แนวคิดหลักและแนวคิดรอง ตามกรอบ CIPP ระยะเวลาในการศึกษาระหว่างเดือน มิถุนายน – ธันวาคม 2563 ผลการดำเนินโครงการนำร่องให้ผู้ป่วยรับยาที่ร้านขายยาเพื่อลดความแออัดในโรงพยาบาลร้อยเอ็ด ได้มีการดำเนินกิจกรรมอย่างมีส่วนร่วมกับพื้นที่ จำนวน 3 ครั้ง การจัดกิจกรรมกลุ่มกับเภสัชกร พบว่า โครงการนี้เปิดบทบาทวิชาชีพ การได้รับการยอมรับจากชุมชนมากขึ้น เภสัชกรได้ทำงานประสานในพื้นที่รู้จักกันมากขึ้น ยินดีและพร้อมให้บริการอย่างเต็มที่และเห็นความยั่งยืนของโครงการนี้ การระบุความเสี่ยงจากปัจจัยตามกรอบการวิเคราะห์ CIPP พบว่าความเสี่ยงในระดับสูงมากมี 3 ประเด็นคือ ประเด็น 1) ความแออัดในโรงพยาบาล 2) การติดตามประเมินผล และ 3) ผลลัพธ์เชิงปริมาณ จำนวนผู้เข้ารับบริการที่ร้านยา ระดับความเสี่ยงในระดับสูง ประกอบด้วย 8 ประเด็น ได้แก่ 1) กลุ่มผู้ป่วยที่ได้รับการคัดเลือก 2) การตอบสนองนโยบายของกระทรวง 3) การสนับสนุนด้านคน 4) การสนับสนุนด้านอุปกรณ์ 5) การสนับสนุนด้านงบประมาณ 6) กระบวนการคัดเลือกผู้ป่วย 7) การยอมรับระหว่างวิชาชีพ และ 8) ผลลัพธ์ทางคลินิก การวางแผนการควบคุมและติดตามความเสี่ยง ครอบคลุมการประสานงานตัวชี้วัดในระดับผู้ปฏิบัติงานในคลินิก การปรับเรื่องนโยบายการสนับสนุน การขยายจำนวนโรคเพื่อคัดเลือกคนไข้มากขึ้น กำหนดวาระการนำเสนอปัญหาอุปสรรคให้กับผู้ตรวจปีละ 2 ครั้ง การเริ่มปรับโมเดลเป็นโมเดล 3 เพื่อการลดภาระงานในโรงพยาบาลมากขึ้นและการ feedback คุณภาพการให้บริการของร้านยาต่อแพทย์ผู้รักษาth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectร้านขายยาth_TH
dc.subjectDrugstoresth_TH
dc.subjectDrug Storageth_TH
dc.subjectเศรษฐศาสตร์สาธารณสุขth_TH
dc.subjectHealth Economicsth_TH
dc.subjectCost-Benefit Analysisth_TH
dc.subjectการประเมินคุณภาพth_TH
dc.subjectQuality Assessmentth_TH
dc.subjectนโยบายสาธารณสุขth_TH
dc.subjectHealth Policyth_TH
dc.subjectHealth Policy--Evaluation Studiesth_TH
dc.subjectระบบบริการสุขภาพth_TH
dc.subjectHealth Service Systemth_TH
dc.subjectระบบบริการสาธารณสุขth_TH
dc.subjectHealth Care Systemth_TH
dc.subjectการบริหารโรงพยาบาลth_TH
dc.subjectHospital Administrationth_TH
dc.subjectภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance)th_TH
dc.titleการประเมินผลเชิงพัฒนา (Developmental Evaluation) โครงการนำร่องให้ผู้ป่วยรับยาที่ร้านขายยาเพื่อลดความแออัดในโรงพยาบาลร้อยเอ็ดth_TH
dc.title.alternativeDevelopmental evaluation of a pilot program to reduce overcrowding at Roi Et Hospital by allowing patients to receive medications from nearby pharmaciesth_TH
dc.typeTechnical Reportth_TH
dc.identifier.callnoQV55 พ216ก 2564
dc.identifier.contactno63-031
dc.subject.keywordรับยาที่ร้านขายยาth_TH
dc.subject.keywordDrug-Dispensing Servicesth_TH
.custom.citationพยอม สุขเอนกนันท์ โอล์สัน, Phayom Sookaneknun Olson, พีรยา ศรีผ่อง, Peeraya Sriphong, จันทร์ทิพย์ กาญจนศิลป์, Juntip Kanjanasilp, สายทิพย์ สุทธิรักษา, Saithip Suttiruksa, ธีระพงษ์ ศรีศิลป์, Theerapong Seesin, เปมรินทร์ โพธิสาราช, Pemmarin Potisarach, เพียงขวัญ ศรีมงคล, Piangkwan Srimongkhol, ปะการัง ศรีวะสุทธิ์, Pakarung Sriwasut, นันทนิจ มีสวัสดิ์, Nanthanich Meesawat, ธีระวุฒิ มีชำนาญ, Theerawut Meechumnan, ระพิตราภรณ์ พิพัฒนมงคล and Rapitraporn Pipattanamongkon. "การประเมินผลเชิงพัฒนา (Developmental Evaluation) โครงการนำร่องให้ผู้ป่วยรับยาที่ร้านขายยาเพื่อลดความแออัดในโรงพยาบาลร้อยเอ็ด." 2564. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5465">http://hdl.handle.net/11228/5465</a>.
.custom.total_download107
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month3
.custom.downloaded_this_year30
.custom.downloaded_fiscal_year6

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hs2742.pdf
ขนาด: 1.695Mb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย