ข่าวสารจากโรคระบาดทั่วโลกสู่โรคประจำถิ่น
dc.contributor.author | ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย | th_TH |
dc.contributor.author | Supasit Pannarunothai | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-03-30T03:52:21Z | |
dc.date.available | 2022-03-30T03:52:21Z | |
dc.date.issued | 2565-03 | |
dc.identifier.issn | 2672-9415 | |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/5537 | |
dc.description.abstract | Rothkopf ได้สร้างคำขึ้นมาใหม่จาก information สนธิกับ epidemic เป็น infodemic เพื่ออธิบายปรากฏการณ์ปัจจัยแทรกซ้อนที่ควบคุมโรคได้ยาก โดยองค์การอนามัยโลกเตือนให้ระวัง infodemic ในยุคความปรกติใหม่ มีคำที่เกี่ยวข้องทั้ง misinformation, disinformation และ malinformation ซึ่งมีความหมาย ดังนี้ ความคลาดเคลื่อนของข่าวสาร หรือ misinformation เกิดขึ้นทั่วไปเนื่องจากยังมีช่องว่างแห่งความรู้อยู่ทั่วไป การเผยแพร่ข่าวสารที่คลาดเคลื่อนโดยไม่ได้ตั้งใจ ถือว่าเป็น misinformation ข่าวสารบิดเบือน หรือ disinformation เป็นความจงใจเผยแพร่ข่าวสารบิดเบือนเพื่อให้เกิดโทษหรือความเสียหาย การใช้ข่าวสารในทางมิชอบ หรือ malinformation เป็นการละเมิดหลักธรรมาภิบาลของการใช้ข่าวสารที่เป็นความจริงและไม่เป็นความจริง เช่น การเผยแพร่ข้อมูลส่วนบุคคลต่อสาธารณะ ขณะที่ประเทศต่างๆ ทั่วโลกกำลังปรับการระบาดระดับโลกให้เป็นการระบาดประจำถิ่น ข่าวสารสาธารณะเพื่อให้การเปลี่ยนผ่านราบรื่น ทั่วถ้วน มีประสิทธิภาพ องค์การสุขภาพนานาชาติและมหาวิทยาลัย มีข้อเสนอการจัดการกับข่าวสารคลาดเคลื่อนบิดเบือนไว้แล้ว รวมทั้งสื่อสังคมก็มีตัวอย่างการจัดการกับบุคคลบิดเบือนข่าวสารโดยระงับบัญชีการใช้สื่อสังคม หลังจากถูกเรียกร้องให้รับผิดชอบต่อสังคม ไม่ใช่เอาแต่อ้างเรื่องเสรีภาพ น่าติดตามศึกษาว่าการประกาศให้โควิด-19 เป็นโรคประจำถิ่นในประเทศไทย จะเกิดการเรียนรู้ในระบบสุขภาพอย่างไร | th_TH |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.subject | โควิด-19 (โรค) | th_TH |
dc.subject | Coronaviruses | th_TH |
dc.subject | ไวรัสโคโรนา | th_TH |
dc.subject | Coronavirus Infections | th_TH |
dc.subject | COVID-19 (Disease) | th_TH |
dc.subject | Communicable Diseases | th_TH |
dc.subject | โรคระบาด | th_TH |
dc.subject | Pandemics | th_TH |
dc.title | ข่าวสารจากโรคระบาดทั่วโลกสู่โรคประจำถิ่น | th_TH |
dc.title.alternative | Information of Pandemics to Endemics | th_TH |
dc.type | Article | th_TH |
dc.subject.keyword | Infodemic | th_TH |
dc.subject.keyword | Misinformation | th_TH |
dc.subject.keyword | Malinformation | th_TH |
dc.subject.keyword | Disinformation | th_TH |
dc.subject.keyword | ความคลาดเคลื่อนของข่าวสาร | th_TH |
dc.subject.keyword | การเผยแพร่ข่าวสารที่คลาดเคลื่อนโดยไม่ได้ตั้งใจ | th_TH |
dc.subject.keyword | ข่าวสารบิดเบือน | th_TH |
dc.subject.keyword | โรคอุบัติใหม่ | th_TH |
.custom.citation | ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย and Supasit Pannarunothai. "ข่าวสารจากโรคระบาดทั่วโลกสู่โรคประจำถิ่น." 2565. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5537">http://hdl.handle.net/11228/5537</a>. | |
.custom.total_download | 546 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 26 | |
.custom.downloaded_this_year | 140 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 36 |
ผลงานวิชาการเหล่านี้เป็นลิขสิทธิ์ของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข หากมีการนำไปใช้อ้างอิง โปรดอ้างถึงสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในฐานะเจ้าของลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติสงวนลิขสิทธิ์สำหรับการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ |
ฉบับเต็ม
ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้
-
Articles [1352]
บทความวิชาการ