Show simple item record

Social Return on Investment of Long-Term Care for Dependent Older Persons: A Case Study of Sa-Ard Subdistrict, Namphong, Khon Kaen

dc.contributor.authorสุรศักดิ์ ไชยสงค์th_TH
dc.contributor.authorSurasak Chaiyasongth_TH
dc.contributor.authorนวลจันทร์ แสนกองth_TH
dc.contributor.authorNuanchan Sankongth_TH
dc.contributor.authorกฤษณี สระมุณีth_TH
dc.contributor.authorKritsanee Saramuneeth_TH
dc.contributor.authorร่มตะวัน กาลพัฒน์th_TH
dc.contributor.authorRomtawan Kalapatth_TH
dc.contributor.authorขวัญดาว มาลาสายth_TH
dc.contributor.authorKhuandao Malasaith_TH
dc.contributor.authorนพวรรณ ยุติพันธ์th_TH
dc.contributor.authorNoppawan Yutipanth_TH
dc.contributor.authorปิยรักษ์ รัตนปกรณ์th_TH
dc.contributor.authorPiyarak Rattanapakornth_TH
dc.contributor.authorมนเศรษฐ ภูวรกิจth_TH
dc.contributor.authorManasate Phuworakijth_TH
dc.date.accessioned2022-03-30T06:26:43Z
dc.date.available2022-03-30T06:26:43Z
dc.date.issued2565-03
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 16,1 (ม.ค. - มี.ค. 2565) : 16-33th_TH
dc.identifier.issn2672-9415
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/5539
dc.description.abstractภูมิหลังและเหตุผล: ประเทศไทยได้ก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุตั้งแต่ปี พ.ศ. 2548 แล้ว และในปี พ.ศ. 2559 รัฐบาลได้มีนโยบายขับเคลื่อนระบบการดูแลระยะยาว (long-term care: LTC) ซึ่งตำบลสะอาด อำเภอน้ำพอง จังหวัดขอนแก่น เป็นตำบลหนึ่งที่มีการจัดบริการ LTC สำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง โดยมีทีมหมอครอบครัวและศูนย์ดูแลระยะยาวตั้งแต่เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2560 แต่ยังไม่เคยมีการประเมินผล โดยเฉพาะการประเมินผลกระทบต่อสังคม การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ผลตอบแทนทางสังคม (social return on investment: SROI) ของการจัดบริการ LTC สำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ระเบียบวิธีศึกษา: ใช้วิธีการแบบผสมผสานเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลผลลัพธ์ ผลกระทบของโปรแกรมและต้นทุนในการจัดบริการ LTC สำหรับผู้สูงอายุที่มีค่า activity of daily living Barthel index (ADL) เท่ากับหรือน้อยกว่า 11 คะแนน จำนวน 37 คน ในปีงบประมาณ 2561 สำรวจข้อมูลด้วยแบบสอบถามในผู้สูงอายุฯ และผู้ดูแลผู้สูงอายุจำนวน 74 คน สนทนากลุ่มกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (ผู้สูงอายุฯ ครอบครัวผู้ดูแล ทีมหมอครอบครัว อาสาสมัครดูแล ตัวแทนเทศบาลและชุมชน) จำนวน 49 คน และรวบรวมข้อมูลทุติยภูมิจากเอกสาร บันทึกและฐานข้อมูลของโรงพยาบาล เทศบาลและศูนย์ดูแลระยะยาว คำนวณ SROI และวิเคราะห์ความไว ผลการศึกษา: ผลลัพธ์ของการจัดบริการ LTC คือ ทำให้ผู้สูงอายุฯ มีอาการดีขึ้น (กลับมาเดินได้หรือช่วยเหลือตัวเองได้) ทำให้ผู้ดูแลมีเวลาได้พักผ่อนและประหยัดค่าใช้จ่ายในการไปโรงพยาบาล รวมทั้งทีมหมอครอบครัวและอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุเกิดความสุขใจในการดูแลช่วยเหลือผู้อื่น และชุมชนเกิดความอบอุ่นช่วยเหลือเกื้อกูลกัน ซึ่งในผู้สูงอายุฯ ทั้งหมด 37 คน หลังเข้ารับบริการ LTC มีคะแนน ADL เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ เฉลี่ย 3.9±5.2 คะแนน (p<0.001) และมีสัดส่วนของผู้ที่อาการดีขึ้นร้อยละ 73 และค่ามัธยฐานมูลค่าของผลลัพธ์อาการดีขึ้นเท่ากับ 708,432 บาท (ควอไทล์ 1 - ควอไทล์ 3 = 699,216 - 2,000,000) สำหรับการจัดบริการ LTC ใน 1 ปี มูลค่าการลงทุนทั้งหมดเท่ากับ 2,138,704 บาท ผลประโยชน์ที่เกิดขึ้นทั้งหมดเท่ากับ 15,853,919 บาท และผลตอบแทนทางสังคมหรืออัตราส่วน SROI เท่ากับ 7.4 เท่า การวิเคราะห์ความไวพบว่าผลตอบแทนทางสังคมอยู่ในช่วง 1.3-20.5 เท่า สรุปผลการศึกษา: การศึกษานี้ชี้ให้เห็นว่า การจัดบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงทำให้ผู้สูงอายุมีอาการดีขึ้น เกิดผลลัพธ์ที่มีคุณค่ากับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอื่นๆ และมีผลตอบแทนทางสังคมสูงมากกว่าการลงทุนหลายเท่า ดังนั้น จึงควรสนับสนุนให้มีการจัดบริการดูแลระยะยาวนี้อย่างต่อเนื่องและขยายผลไปยังพื้นที่อื่นให้กว้างขวางมากขึ้นด้วยth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectผู้สูงอายุth_TH
dc.subjectElderlyth_TH
dc.subjectผู้สูงอายุ--การดูแลระยะยาวth_TH
dc.subjectLong-Term Careth_TH
dc.subjectระบบบริการสาธารณสุขth_TH
dc.subjectHealth Care Systemth_TH
dc.titleผลตอบแทนทางสังคมของการจัดบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง: กรณีศึกษาตำบลสะอาด อำเภอน้ำพอง จังหวัดขอนแก่นth_TH
dc.title.alternativeSocial Return on Investment of Long-Term Care for Dependent Older Persons: A Case Study of Sa-Ard Subdistrict, Namphong, Khon Kaenth_TH
dc.typeArticleth_TH
dc.description.abstractalternativeBackground and Rationale: Thailand becomes an ageing society. The Thai government officially implemented long-term care (LTC) for dependent older persons in 2016. Sa-ard subdistrict of Namphong, Khon Kaen, has provided an LTC service program by the family care team and the LTC center since August 2017. However, the impacts of this program, particularly social impact, have not been reported. This study aimed to determine social return on investment (SROI) of the LTC program for dependent older persons in this setting. Methodology: A mixed-methods approach was used to collect data on outcomes, program impacts, and costs of the LTC program for dependent older persons (37 people with the Barthel index of activity of daily living (ADL) ≤ 11 points) in the fiscal year 2018. We conducted a questionnaire survey among 74 program beneficiaries (dependent older persons and family caregivers) and focus group interviews among 49 program stakeholders (dependent older persons, family caregivers, family care team members, trained caregivers, and community and local government representatives). Secondary data were gathered from reports, records, and databases of the hospital, the local government, and the LTC center. SROI was calculated and sensitivity analysis was performed. Results: Outcomes of LTC program delivered better conditions (walkability or doing usual activities by themselves) to the dependent older person group, more relaxation/leisure time and saving costs from going to hospitals to family caregivers, happiness in helping other people to the family care teams and trained caregivers, and the healthy community. Of the total 37 dependent older persons, after participating in the LTC program their ADL increased significantly on average 3.9 ± 5.2 points (p < 0.001) and 73% had better outcomes. The older persons valued their better outcomes at a median of 708,432 baht (Q1-Q3 = 699,216 - 2,000,000). For a one-year investment of LTC program of 2,138,704 baht and its benefit of 15,853,919 baht, the SROI ratio of this program was 7.4 with a range of sensitivity analysis values between 1.3 and 20.5. Conclusion: This study indicated that the LTC program for older persons could effectively improve their outcomes and provide values to stakeholders and society. The LTC program provided social return higher than investment. Therefore, the LTC program should be promoted and expanded to other settings.th_TH
dc.subject.keywordการประเมินผลตอบแทนทางสังคมth_TH
dc.subject.keywordSocial Return On Investmentth_TH
dc.subject.keywordSROIth_TH
dc.subject.keywordLTCth_TH
.custom.citationสุรศักดิ์ ไชยสงค์, Surasak Chaiyasong, นวลจันทร์ แสนกอง, Nuanchan Sankong, กฤษณี สระมุณี, Kritsanee Saramunee, ร่มตะวัน กาลพัฒน์, Romtawan Kalapat, ขวัญดาว มาลาสาย, Khuandao Malasai, นพวรรณ ยุติพันธ์, Noppawan Yutipan, ปิยรักษ์ รัตนปกรณ์, Piyarak Rattanapakorn, มนเศรษฐ ภูวรกิจ and Manasate Phuworakij. "ผลตอบแทนทางสังคมของการจัดบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง: กรณีศึกษาตำบลสะอาด อำเภอน้ำพอง จังหวัดขอนแก่น." 2565. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5539">http://hdl.handle.net/11228/5539</a>.
.custom.total_download1360
.custom.downloaded_today1
.custom.downloaded_this_month25
.custom.downloaded_this_year252
.custom.downloaded_fiscal_year393

Fulltext
Icon
Name: hsri-journal-v16n ...
Size: 354.7Kb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

  • Articles [1334]
    บทความวิชาการ

Show simple item record