Work-Related Factors and Mental Health Outcomes among Healthcare Workers during COVID-19 Pandemic
dc.contributor.author | ดาวรุ่ง คำวงศ์ | th_TH |
dc.contributor.author | Daoroong Komwong | th_TH |
dc.contributor.author | จีระเกียรติ ประสานธนกุล | th_TH |
dc.contributor.author | Jirakeat Prasanthanakul | th_TH |
dc.contributor.author | มุทิตา พนาสถิตย์ | th_TH |
dc.contributor.author | Muthita Phanasathit | th_TH |
dc.contributor.author | ธนิยะ วงศ์วาร | th_TH |
dc.contributor.author | Taniya Wongwan | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-03-30T06:36:23Z | |
dc.date.available | 2022-03-30T06:36:23Z | |
dc.date.issued | 2565-03 | |
dc.identifier.citation | วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 16,1 (ม.ค. - มี.ค. 2565) : 54-68 | th_TH |
dc.identifier.issn | 2672-9415 | |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/5541 | |
dc.description.abstract | การวิจัยแบบตัดขวาง ณ จุดเวลาใดเวลาหนึ่งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความชุกของภาวะสุขภาพจิต พฤติกรรมป้องกันเพื่อลดโอกาสติดเชื้อ และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับงานและภาวะสุขภาพจิตของบุคลากรทางการแพทย์สังกัดกระทรวงสาธารณสุขในช่วงแรกที่มีการระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 เก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถามออนไลน์ จำนวน 417 คน จาก 12 เขตสุขภาพ ระหว่างวันที่ 1-15 พฤษภาคม พ.ศ. 2563 ใช้แบบประเมิน Depress Anxiety Stress Scales (DASS-21) ฉบับภาษาไทยในการประเมินภาวะสุขภาพจิต ใช้สถิติไคสแควร์ในการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยและภาวะสุขภาพจิต ผลการศึกษาพบว่ากลุ่มตัวอย่างมีภาวะซึมเศร้า ภาวะวิตกกังวล ความเครียดอยู่ในระดับสูงถึงรุนแรง เท่ากับร้อยละ 2.4 ร้อยละ 7.2 และร้อยละ 3.9 ตามลำดับ การใส่หน้ากากอนามัยหรือหน้ากากผ้า (ร้อยละ 82.0) การล้างมือด้วยสบู่หรือเจลแอกอฮอล์ (ร้อยละ76.0) เป็นพฤติกรรมที่มีการปฏิบัติทุกครั้งสูงสุด ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับงานที่มีความสัมพันธ์กับภาวะสุขภาพจิตอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ได้แก่ (1) การปฏิบัติงานใกล้ชิดกับผู้ติดเชื้อที่นอนรักษาตัวในโรงพยาบาล (2) ความพร้อมในการบริหารจัดการเพื่อลดความเสี่ยง (3) ความเพียงพอของอุปกรณ์ในการป้องกันตนเอง (4) ความกลัวการติดเชื้อจากการปฏิบัติงาน (5) ผู้ที่มารับบริการไม่ให้ความร่วมมือตามที่แนะนำ การศึกษานี้ชี้ให้เห็นว่า การมีแนวทางการบริหารจัดการที่มีประสิทธิผลเพื่อลดการติดเชื้อเป็นปัจจัยที่สัมพันธ์และสามารถปรับเปลี่ยนได้ สำหรับการป้องกันปัญหาสุขภาพจิตของบุคลากรทางการแพทย์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ที่สัมผัสใกล้ชิดโดยตรงกับผู้ป่วยที่นอนพักรักษาตัวในโรงพยาบาล จากการระบาด “ระลอกใหม่” หรือ “การระบาดซ้ำ” ของไวรัสโคโรนา 2019 | th_TH |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.subject | สุขภาพจิต | th_TH |
dc.subject | Mental Health | th_TH |
dc.subject | บุคลากรทางการแพทย์ | th_TH |
dc.subject | Medical Personnel | th_TH |
dc.subject | COVID-19 (Disease) | th_TH |
dc.subject | โควิด-19 (โรค) | th_TH |
dc.subject | Coronaviruses | th_TH |
dc.subject | ไวรัสโคโรนา | th_TH |
dc.subject | Coronavirus Infections | th_TH |
dc.subject | การติดเชื้อไวรัสโคโรนา | th_TH |
dc.title | ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับงานกับภาวะสุขภาพจิตของบุคลากรทางการแพทย์ในช่วงการแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 | th_TH |
dc.title.alternative | Work-Related Factors and Mental Health Outcomes among Healthcare Workers during COVID-19 Pandemic | th_TH |
dc.type | Article | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This cross-sectional research focused on studying the prevalence of mental health outcomes and preventive behaviors, and to examine work-related factors associated with mental health outcomes during the COVID-19 pandemic amongst the healthcare workers employed by the Ministry of Public Health Thailand. The data were collected by the online questionnaire from 12 health regions, 417 healthcare workers administered during the first wave (May 1-15, 2020). The Depression Anxiety and Stress Scale – 21 Items (DASS-21) Thai version was used to assess mental health outcomes. The Chi-square test was used to examine association between depression, anxiety and stress-related factors. The results found that 2.4%, 7.2%, and 3.9% of all respondents demonstrated severe to extremely severe depression, anxiety, and stress; while practices of preventive behaviors were as high as 82.0% of wearing masks and 76% of practicing hand-hygiene. The associated factors of mental health outcomes were: (i) working with COVID-19 inpatients; (ii) organizational management to ensure low infection risk; (iii) inadequate of personal protective equipment (PPE); (iv) work with the fear of contracting infection; (v) the non-adherence behavior of patients towards safety protocols. The study recommends that effective management practices towards reducing infection was predominant associating and modifiable factor of mental health outcome. In particular, this should be applied to the healthcare workers coming in direct contact with patients in the “new-emerging phase” or a “repeated wave” of COVID-19 outbreaks. | th_TH |
dc.subject.keyword | Healthcare Workers | th_TH |
.custom.citation | ดาวรุ่ง คำวงศ์, Daoroong Komwong, จีระเกียรติ ประสานธนกุล, Jirakeat Prasanthanakul, มุทิตา พนาสถิตย์, Muthita Phanasathit, ธนิยะ วงศ์วาร and Taniya Wongwan. "ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับงานกับภาวะสุขภาพจิตของบุคลากรทางการแพทย์ในช่วงการแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา 2019." 2565. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5541">http://hdl.handle.net/11228/5541</a>. | |
.custom.total_download | 4037 | |
.custom.downloaded_today | 3 | |
.custom.downloaded_this_month | 102 | |
.custom.downloaded_this_year | 1291 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 271 |
ผลงานวิชาการเหล่านี้เป็นลิขสิทธิ์ของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข หากมีการนำไปใช้อ้างอิง โปรดอ้างถึงสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในฐานะเจ้าของลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติสงวนลิขสิทธิ์สำหรับการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ |
Fulltext
This item appears in the following Collection(s)
-
Articles [1352]
บทความวิชาการ