The Assessment of Physical Activity Programs Implementation in the Thai Urban-Setting against the Global Action Plan on Physical Activity Strategic Actions
dc.contributor.author | ฐิติกร โตโพธิ์ไทย | th_TH |
dc.contributor.author | Thitikorn Topothai | th_TH |
dc.contributor.author | ชมพูนุท โตโพธิ์ไทย | th_TH |
dc.contributor.author | Chompoonut Topothai | th_TH |
dc.contributor.author | วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร | th_TH |
dc.contributor.author | Viroj Tangcharoensathien | th_TH |
dc.contributor.author | อรทัย วลีวงศ์ | th_TH |
dc.contributor.author | Orratai Waleewong | th_TH |
dc.contributor.author | วีระศักดิ์ พุทธาศรี | th_TH |
dc.contributor.author | Weerasak Putthasri | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-03-30T06:40:39Z | |
dc.date.available | 2022-03-30T06:40:39Z | |
dc.date.issued | 2565-03 | |
dc.identifier.citation | วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 16,1 (ม.ค. - มี.ค. 2565) : 69-84 | th_TH |
dc.identifier.issn | 2672-9415 | |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/5542 | |
dc.description.abstract | กิจกรรมทางกายไม่เพียงพอเป็นปัจจัยเสี่ยงอันดับที่สี่ของการเสียชีวิตด้วยโรคไม่ติดต่อ เพื่อแก้ไขปัญหาการมีกิจกรรมทางกายไม่เพียงพอ จึงมีการคิดค้นและสนับสนุนให้มีการปฏิบัติในประเทศไทย ซึ่งได้เน้นความสำคัญของทั้งสังคม เพิ่มให้ครบทุกยุทธศาสตร์ในการสร้างสภาพแวดล้อมทางสังคม วัฒนธรรม เศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อมทางกายภาพให้เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกาย การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลการดำเนินงานการส่งเสริมกิจกรรมทางกายในบริบทเมืองในพื้นที่ 12 เทศบาลด้วยสี่ยุทธศาสตร์ของแผนปฏิบัติการส่งเสริมกิจกรรมทางกายโลก ผลการศึกษาพบว่าทั้งสิบสองเทศบาลมีการนำอย่างน้อยหนึ่งยุทธศาสตร์ไปปฏิบัติในการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย โดยในภาพรวมมีการบรรลุ 12 จาก 20 ยุทธศาสตร์ย่อยของแผนปฏิบัติการส่งเสริมกิจกรรมทางกายโลก ทั้งนี้ พบว่าเทศบาลนครมีคะแนนการบรรลุยุทธศาสตร์สูงที่สุด รองลงมาคือเทศบาลเมืองและเทศบาลตำบลตามลำดับ เมื่อจำแนกตามรายยุทธศาสตร์ พบว่าทั้งสิบสองเทศบาลมีการบรรลุยุทธศาสตร์ที่สาม: การส่งเสริมให้ประชาชนกระฉับกระเฉง และยุทธศาสตร์ที่หนึ่ง: การส่งเสริมให้สังคมกระฉับกระเฉง มากที่สุด การศึกษานี้ชี้ให้เห็นว่ายุทธศาสตร์ของแผนปฏิบัติการส่งเสริมกิจกรรมทางกายโลกมีความเหมาะสมและสอดคล้องกับการนำไปใช้ในบริบทไทย ทั้งนี้ แม้ว่าเทศบาลมีความเหมาะสมในการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย แต่ก็ยังคงพบช่องว่างในการส่งเสริมในยุทธศาสตร์ที่สอง: การส่งเสริมสภาพแวดล้อมให้เอื้อกิจกรรมทางกาย และยุทธศาสตร์ที่สี่: การส่งเสริมระบบส่งเสริมกิจกรรมทางกาย โดยสรุป เทศบาลมีความเหมาะสมในการส่งเสริมกิจกรรมทางกายในบริบทเมืองร่วมกับภาคีอื่นทั้งภาครัฐและเอกชน และแผนปฏิบัติการส่งเสริมกิจกรรมทางกายโลกควรได้รับการพัฒนาตัวชี้วัดที่เหมาะสมในการประเมินกระบวนการและผลลัพธ์การส่งเสริมกิจกรรมทางกายเพื่อพัฒนานโยบายการส่งเสริมกิจกรรมทางกายต่อไป | th_TH |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.language.iso | en | th_TH |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.subject | กิจกรรมทางกาย | th_TH |
dc.subject | Physical Activity | th_TH |
dc.subject | การส่งเสริมสุขภาพ | th_TH |
dc.subject | Health Promotion | th_TH |
dc.subject | Health Policy | th_TH |
dc.subject | นโยบายสาธารณสุข | th_TH |
dc.subject | Health Impact Assessment | th_TH |
dc.subject | การประเมินผลกระทบด้านสุขภาพ | th_TH |
dc.title | การประเมินการส่งเสริมกิจกรรมทางกายในบริบทเมืองของไทยด้วยแผนปฏิบัติการส่งเสริมกิจกรรมทางกายโลก | th_TH |
dc.title.alternative | The Assessment of Physical Activity Programs Implementation in the Thai Urban-Setting against the Global Action Plan on Physical Activity Strategic Actions | th_TH |
dc.type | Article | th_TH |
dc.description.abstractalternative | Physical inactivity is ranked number four leading risk factor of premature deaths from non-communicable diseases. The Global Action Plan on Physical Activity 2018-2030 (GAPPA), adopted in the 71st World Health Assembly in 2018 emphasizes the need for a whole-of-society approach to creating social, cultural, economic, and environments conducive to physical activity. This study assessed the promotion of physical activity in the urban setting of twelve selected municipalities in Thailand against the four GAPPA strategic actions. The findings revealed that all twelve municipalities implemented at least one intervention of the four strategic actions, and achieved 12 out of 20 (60%) GAPPA recommended actions. The city municipalities achieved the highest score, followed by the town and the subdistrict municipalities. The highest achievements were the implementations of strategic action 3: create active people, and strategic action 1: create active societies. This study showed that GAPPA recommendations were relevant and feasible in the Thai context. However, gaps remained in the promotion of strategic action 2: create active environments, and strategic action 4: create active systems. In conclusion, the municipality could be one of the lead agencies for physical activity promotion in an urban setting in collaboration with other public and private stakeholders. GAPPA strategic actions should be translated to be specific tools and indicators for monitoring the progress of policy implementation. | th_TH |
.custom.citation | ฐิติกร โตโพธิ์ไทย, Thitikorn Topothai, ชมพูนุท โตโพธิ์ไทย, Chompoonut Topothai, วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร, Viroj Tangcharoensathien, อรทัย วลีวงศ์, Orratai Waleewong, วีระศักดิ์ พุทธาศรี and Weerasak Putthasri. "การประเมินการส่งเสริมกิจกรรมทางกายในบริบทเมืองของไทยด้วยแผนปฏิบัติการส่งเสริมกิจกรรมทางกายโลก." 2565. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5542">http://hdl.handle.net/11228/5542</a>. | |
.custom.total_download | 452 | |
.custom.downloaded_today | 1 | |
.custom.downloaded_this_month | 16 | |
.custom.downloaded_this_year | 172 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 16 |
ผลงานวิชาการเหล่านี้เป็นลิขสิทธิ์ของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข หากมีการนำไปใช้อ้างอิง โปรดอ้างถึงสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในฐานะเจ้าของลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติสงวนลิขสิทธิ์สำหรับการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ |
Fulltext
This item appears in the following Collection(s)
-
Articles [1352]
บทความวิชาการ