Show simple item record

An Investigation of the Efficacy and Safety of Favipiravir in COVID-19 Patients without Pneumonia−An open-label randomized controlled study

dc.contributor.authorรุจิภาส สิริจตุภัทรth_TH
dc.contributor.authorRujipas Sirijatuphatth_TH
dc.contributor.authorกุลกัญญา โชคไพบูลย์กิจth_TH
dc.contributor.authorKulkanya Chokephaibulkitth_TH
dc.contributor.authorยุพิน ศุพุทธมงคลth_TH
dc.contributor.authorYupin Suputtamongkolth_TH
dc.contributor.authorยงค์ รงค์รุ่งเรืองth_TH
dc.contributor.authorYong Rongrungruangth_TH
dc.contributor.authorเมธี ชยะกุลคีรีth_TH
dc.contributor.authorMethee Chayakulkeereeth_TH
dc.contributor.authorณสิกาญจน์ อังคเศกวินัยth_TH
dc.contributor.authorNasikarn Angkasekwinaith_TH
dc.contributor.authorโกวิท พัฒนาปัญญาสัตย์th_TH
dc.contributor.authorKovit Pattanapanyasatth_TH
dc.contributor.authorจตุรงค์ เสวตานนท์th_TH
dc.contributor.authorJaturong Sewatanonth_TH
dc.contributor.authorสุวิมล นิยมในธรรมth_TH
dc.contributor.authorSuvimol Niyomnaithamth_TH
dc.contributor.authorสุสัณห์ อาศนะเสนth_TH
dc.contributor.authorSusan Assanasenth_TH
dc.contributor.authorกษมา สุขาภิรมย์th_TH
dc.contributor.authorKasama Sukapiromth_TH
dc.contributor.authorมาโนช รัตนสมปัตติกุลth_TH
dc.contributor.authorManoch Rattanasompattikulth_TH
dc.contributor.authorกนก วงศ์สวัสดิ์th_TH
dc.contributor.authorKanok Wongsawadth_TH
dc.contributor.authorวีรวัฒน์ มโนสุทธิth_TH
dc.contributor.authorWeerawat Manosuthith_TH
dc.contributor.authorลัลธริตา เจริญพงษ์th_TH
dc.contributor.authorLantharita Charoenpongth_TH
dc.contributor.authorสุรัคเมธ มหาศิริมงคลth_TH
dc.contributor.authorSurakameth Mahasirimongkolth_TH
dc.contributor.authorนวลจันทร์ วิจักษณ์จินดาth_TH
dc.contributor.authorNuanjun Wichukchindath_TH
dc.contributor.authorอิงอร ประสารชัยมนตรีth_TH
dc.contributor.authorIng-orn Prasanchaimontrith_TH
dc.date.accessioned2022-06-29T01:35:17Z
dc.date.available2022-06-29T01:35:17Z
dc.date.issued2565-06
dc.identifier.otherhs2819
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/5614
dc.description.abstractยาฟาวิพิราเวียร์ เป็นยาต้านที่มีกลไกออกฤทธิ์ด้วยการยับยั้งเอนไซม์ RNA-dependent RNA polymerase และน่าจะมีประสิทธิภาพในการยับยั้งเชื้อโควิด-19 ได้ เนื่องด้วยในสถานการณ์การระบาดของเชื้อมีความเป็นไปได้ว่าจะพบผู้ติดเชื้อมากขึ้นเรื่อยๆ การค้นคว้าหาแนวทางการรักษาผู้ที่ติดเชื้อโควิด-19 อย่างมีประสิทธิภาพจึงเป็นสิ่งจำเป็นอย่างมาก ดังนั้นการศึกษาในครั้งนี้เพื่อยืนยันถึงประสิทธิภาพของยาฟาวิพิราเวียร์กับการรักษาแบบประคับประคองในการรักษาผู้ป่วยติดเชื้อโควิด-19 ที่มีอาการไม่หนักและยังไม่มีภาวะปอดอักเสบโดยการใช้ระยะเวลาที่อาการทางคลินิกดีขึ้นเป็นตัวชี้วัด ซึ่งจะเป็นประโยชน์อย่างมากในการพัฒนาด้านสาธารณสุขในอนาคต โดยศึกษาเพื่อยืนยันถึงประสิทธิภาพและความปลอดภัยของยาฟาวิพิราเวียร์ในผู้ป่วยโควิด-19 ที่อาการไม่หนักและไม่มีภาวะปอดอักเสบเปรียบเทียบกับการรักษาแบบประคับประคองโดยใช้เวลาที่อาการทางคลินิกดีขึ้น (อุณหภูมิร่างกาย อาการแสดงทางคลินิกที่เกี่ยวข้องกับโควิด-19 ค่าความอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือด (SpO2) และภาพถ่ายรังสีทรวงอก) และการไม่พบเชื้อ SARS-CoV2 โดยวิธีการตรวจ RT-PCR จาก nasopharyngeal swab เป็นตัวชี้วัดหลัก โดยเป็นการศึกษาควบคุมแบบสุ่มและไม่ปกปิดในผู้ป่วยโควิด-19 จำนวน 96 ราย ที่ผ่านตามเกณฑ์การคัดเข้า/ออก (กลุ่มที่ได้รับยาฟาวิพิราเวียร์ 1,800 มิลลิกรัม/800 มิลลิกรัม วันละ 2 ครั้ง เป็นเวลา 5-14 วัน จำนวน 64 ราย กับกลุ่มควบคุม จำนวน 32 ราย, 2:1) คนไข้แต่ละรายจะเข้าร่วมโครงการวิจัยเป็นเวลาทั้งหมด 14-28 วัน รวมทั้งมีการศึกษาเภสัชจลนศาสตร์ของยาฟาวิพิราเวียร์ในคนไข้ จำนวน 10 ราย ผลการศึกษาพบว่า การใช้ยาฟาวิพิราเวียร์ในกลุ่มผู้ป่วยที่มีอาการไม่หนักและไม่มีภาวะปอดอักเสบ มีประสิทธิผลต่อการแสดงอาการทางคลินิกที่ดีในระยะเวลาที่รวดเร็วขึ้น เมื่อเทียบกับกลุ่มที่ได้รับการรักษาแบบประคับประคอง เมื่อประเมินอาการด้วย NEWS Score ในช่วงเวลาการรักษา 14 วัน พบว่า กลุ่มที่ได้รับยาฟาวิพิราเวียร์มีอาการดีขึ้นถึง 79% ขณะที่กลุ่มควบคุมมีอาการดีขึ้นเพียง 32.3% (p=0.027) กลุ่มที่ได้รับยาฟาวิพิราเวียร์มีอาการดีขึ้นเร็วกว่าอย่างมีนัยสำคัญ โดยครึ่งหนึ่งของผู้ที่ได้รับยาฟาวิพิราเวียร์มีอาการดีขึ้นตั้งแต่วันที่ 2 ของการรักษาเมื่อเทียบกับ 14 วัน ในกลุ่มควบคุม (p<0.001) สรุปได้ว่า การใช้ยาฟาวิพิราเวียร์มีประสิทธิภาพต่อการแสดงอาการทางคลินิกที่ดีขึ้นและรวดเร็วกว่ากลุ่มควบคุม สรุปผลการศึกษา: ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 สามารถรักษาด้วยยาฟาวิพิราเวียร์ ขนาด 1,800 มิลลิกรัม เช้า-เย็นในวันแรก และ 800 มิลลิกรัม เช้า-เย็นในวันต่อมา เป็นการรักษาที่ควรเริ่มทันทีเมื่ออาการยังไม่รุนแรงth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectการใช้ยาth_TH
dc.subjectDrug Utilizationth_TH
dc.subjectผู้ป่วย--การใช้ยาth_TH
dc.subjectผู้ป่วย--การรักษาth_TH
dc.subjectPharmacokineticsth_TH
dc.subjectเภสัชจลนศาสตร์th_TH
dc.subjectPalliative Careth_TH
dc.subjectการดูแลแบบประคับประคองth_TH
dc.subjectCOVID-19 (Disease)th_TH
dc.subjectโควิด-19 (โรค)th_TH
dc.subjectCoronavirusesth_TH
dc.subjectไวรัสโคโรนาth_TH
dc.subjectCoronavirus Infectionsth_TH
dc.subjectการติดเชื้อไวรัสโคโรนาth_TH
dc.subjectSARS-CoV-2th_TH
dc.subjectภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance)th_TH
dc.titleการใช้ยาฟาวิพิราเวียร์เทียบกับการรักษาแบบประคับประคองในผู้ป่วยโควิด 19 ที่มีอาการไม่หนักและยังไม่มีภาวะปอดอักเสบth_TH
dc.title.alternativeAn Investigation of the Efficacy and Safety of Favipiravir in COVID-19 Patients without Pneumonia−An open-label randomized controlled studyth_TH
dc.typeTechnical Reportth_TH
dc.description.abstractalternativeBackground: Favipiravir is an antiviral agent, mechanism of action is selective inhibition of RNA-dependent RNA polymerase and maybe effective against the SARS-CoV-2 virus. While no established treatment for COVID-19 is available, epidemiological studies conducted to date suggest a risk of further increase in patient exposure in the future. Therefore, to verify that the efficacy of Favipiravir exceeds that of the supportive care (symptomatic therapy) in mild SARS-CoV-2 infected patients (COVID-19 patients) without pneumonia, using the time required to improve clinical symptoms as the primary endpoint and it will contribute immensely to the improvement of public health in the future. Methods: To verify that the efficacy of Favipiravir exceeds that of the supportive care (symptomatic therapy) in mild SARS-CoV-2 infected patients (COVID-19 patients) without pneumonia, using the time required to improve clinical symptoms as the primary endpoint. In the case of chest imaging, no new findings and turning negative in the RT-PCR test with nasopharyngeal swab were set as the primary endpoints. Since this study is an open-label study, 96 patients to be enrolled all of the following inclusion criteria. (2:1, 64 in Favipiravir group with 1,800/800 mg twice daily) for 5-14 days and 32 in control group) The treatment period is 5 -14 days in principle and 10 patients in a clinical pharmacology study of Favipiravir. Results: This study examine the superiority of treatment of Favipiravir adding to the supportive care for mild COVID-19 patients without pneumonia, compared to those treatments without Favipiravir, to efficacy improve clinical symptoms with using NEWS Score, the treatment period is 14 days , in Favipiravir group have improved clinical symptoms rate 79% and in control group rate 32.3%. (p=0.027) Half of those treatments with Favipiravir have improved clinical symptoms on Day 2. As for in control group have improved clinical symptoms on Day 14 (p<0.001) Therefore, efficacy of Favipiravir to improve clinical symptoms than the control group. Conclusions: Coronavirus disease 2019, treatment with Favipiravir 1,800 mg is orally administered twice on Day 1, and then 800 mg is orally administered twice daily on Day 2 when you have mild symptoms.th_TH
dc.identifier.callnoWC503 ร656ก 2565
dc.identifier.contactno63-088
dc.subject.keywordFavipiravirth_TH
dc.subject.keywordการรักษาแบบประคับประคองth_TH
dc.subject.keywordฟาวิพิราเวียร์th_TH
.custom.citationรุจิภาส สิริจตุภัทร, Rujipas Sirijatuphat, กุลกัญญา โชคไพบูลย์กิจ, Kulkanya Chokephaibulkit, ยุพิน ศุพุทธมงคล, Yupin Suputtamongkol, ยงค์ รงค์รุ่งเรือง, Yong Rongrungruang, เมธี ชยะกุลคีรี, Methee Chayakulkeeree, ณสิกาญจน์ อังคเศกวินัย, Nasikarn Angkasekwinai, โกวิท พัฒนาปัญญาสัตย์, Kovit Pattanapanyasat, จตุรงค์ เสวตานนท์, Jaturong Sewatanon, สุวิมล นิยมในธรรม, Suvimol Niyomnaitham, สุสัณห์ อาศนะเสน, Susan Assanasen, กษมา สุขาภิรมย์, Kasama Sukapirom, มาโนช รัตนสมปัตติกุล, Manoch Rattanasompattikul, กนก วงศ์สวัสดิ์, Kanok Wongsawad, วีรวัฒน์ มโนสุทธิ, Weerawat Manosuthi, ลัลธริตา เจริญพงษ์, Lantharita Charoenpong, สุรัคเมธ มหาศิริมงคล, Surakameth Mahasirimongkol, นวลจันทร์ วิจักษณ์จินดา, Nuanjun Wichukchinda, อิงอร ประสารชัยมนตรี and Ing-orn Prasanchaimontri. "การใช้ยาฟาวิพิราเวียร์เทียบกับการรักษาแบบประคับประคองในผู้ป่วยโควิด 19 ที่มีอาการไม่หนักและยังไม่มีภาวะปอดอักเสบ." 2565. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5614">http://hdl.handle.net/11228/5614</a>.
.custom.total_download170
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month2
.custom.downloaded_this_year9
.custom.downloaded_fiscal_year2

Fulltext
Icon
Name: hs2819.pdf
Size: 1.571Mb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record