Show simple item record

The Health Impact of the COVID-19 Pandemic on Visually Disabled Persons in Bangkok

dc.contributor.authorประภัสสรา พงศ์พันธุ์พิศาลth_TH
dc.contributor.authorPrapatsara Pongpunpisandth_TH
dc.contributor.authorมนทยา สุนันทิวัฒน์th_TH
dc.contributor.authorMontaya Sununtiwatth_TH
dc.contributor.authorสมหญิง พุ่มทองth_TH
dc.contributor.authorSomying Pumtongth_TH
dc.contributor.authorลือรัตน์ อนุรัตน์พานิชth_TH
dc.contributor.authorLuerat Anuratpanichth_TH
dc.date.accessioned2022-06-29T07:02:47Z
dc.date.available2022-06-29T07:02:47Z
dc.date.issued2565-06
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 16,2 (เม.ย. - มิ.ย. 2565) : 169-182th_TH
dc.identifier.issn2672-9415
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/5616
dc.description.abstractโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) สร้างผลกระทบต่อสุขภาพและความเป็นอยู่ของประชาชนโดยเฉพาะในกลุ่มเปราะบาง การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบด้านสุขภาพจากมาตรการทางสาธารณสุขในสถานการณ์การระบาดโรคโควิด-19 ในกลุ่มผู้มีความบกพร่องทางการเห็นในเขตกรุงเทพมหานคร วิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อปัญหาด้านสุขภาพ และจัดทำข้อเสนอแนะเพื่อเป็นแนวทางช่วยเหลือผู้มีความบกพร่องทางการเห็นในสถานการณ์การระบาดโรคโควิด-19 การวิจัยนี้เป็นสำรวจแบบภาคตัดขวางใช้แบบสอบถามเก็บข้อมูลในเดือนมิถุนายนและกรกฎาคม 2564 กลุ่มตัวอย่างจำนวน 140 คน ได้จากการเลือกแบบเจาะจงร่วมกับการคัดเลือกแบบลูกโซ่ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณา (ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน) และสถิติเชิงอนุมาน (ANOVA, t-test, chi-square) ผลการวิจัยพบว่า ผู้มีความบกพร่องทางการเห็นได้รับผลกระทบจากการระบาดและมาตรการด้านสาธารณสุขในการควบคุมโรค ต่อการใช้ชีวิตประจำวัน การประกอบอาชีพ เศรษฐกิจและความตึงเครียดทางอารมณ์ นอกจากนี้ยังพบอุปสรรคในการใช้บริการสาธารณะจากการปรับเปลี่ยนทางสังคมในยุค new normal อย่างไรก็ตาม มาตรการการตอบสนองต่อผลกระทบจากโควิด-19 ของภาครัฐ ยังไม่ครอบคลุมรายละเอียดในการปฏิบัติต่อผู้มีความบกพร่องทางการเห็น เช่น รูปแบบการจัดบริการและการช่วยเหลือเยียวยายังขาดระบบที่รองรับข้อจำกัดของผู้มีความบกพร่องทางการเห็น การสื่อสารข้อมูลทางสาธารณสุขยังขาดรูปแบบและช่องทางที่เหมาะสม ภาครัฐบาลควรมีความเข้าอกเข้าใจ และกำหนดนโยบายการดูแลที่ครอบคลุมกลุ่มผู้มีความบกพร่องทางการเห็น เช่น ปรับปรุงการเพิ่มการเข้าถึงบริการสาธารณะ ปรับปรุงการเข้าถึงบริการสุขภาพ และเพิ่มการเข้าถึงวัคซีนโควิด-19th_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectคนพิการth_TH
dc.subjectDisabled Personsth_TH
dc.subjectตาบอดth_TH
dc.subjectคนตาบอดth_TH
dc.subjectBlindnessth_TH
dc.subjectผู้พิการทางสายตาth_TH
dc.subjectคนพิการ--สุขภาพและอนามัยth_TH
dc.subjectคนพิการ--บริการส่งเสริมสุขภาพth_TH
dc.subjectCOVID-19 (Disease)th_TH
dc.subjectโควิด-19 (โรค)th_TH
dc.subjectCoronavirusesth_TH
dc.subjectไวรัสโคโรนาth_TH
dc.subjectCoronavirus Infectionsth_TH
dc.subjectการติดเชื้อไวรัสโคโรนาth_TH
dc.titleผลกระทบด้านสุขภาพจากสถานการณ์ระบาดของโควิด-19 ต่อผู้มีความบกพร่องทางการเห็นในเขตกรุงเทพมหานครth_TH
dc.title.alternativeThe Health Impact of the COVID-19 Pandemic on Visually Disabled Persons in Bangkokth_TH
dc.typeArticleth_TH
dc.description.abstractalternativeThe coronavirus disease 2019 (COVID-19) pandemic has impacted on health and well-being of the population, particularly vulnerable groups. The purposes of this study were to explore health impact of COVID-19 regarding public health measure on people with visual impairment in Bangkok, to analyze factors affecting the impact, and to make recommendations to support visually impaired people in the situation of COVID-19 outbreak. A cross-sectional survey was conducted. Questionnaires were used to collected data between June and July, 2021. A combination of purposive and snowball technique was applied to select 140 visually impaired people to the study. Data were analyzed using descriptive (percentage, mean, standard deviation) and inferential statistics (ANOVA, t-test, chi-square). Findings revealed that the outbreak and public health measures affected visually impaired people’s daily lives, occupation, and economic and emotional stress. Moreover, they faced difficulty in using public services due to social change in the new normal era. However, the government’s measures in response to the impact of COVID-19 on visually impaired group were not inclusive in design. For instance, there was a lack of system to support the constraints of the visually impaired, and health communication was inappropriate in terms of format and channel. The government should show empathy and implement comprehensive policies for visually impaired people with empathy, such as improve access for public services, improve access to health care services, as well as increase access to COVID-19 vaccine.th_TH
dc.subject.keywordผู้มีความบกพร่องทางการเห็นth_TH
dc.subject.keywordVisually Disabled Personsth_TH
.custom.citationประภัสสรา พงศ์พันธุ์พิศาล, Prapatsara Pongpunpisand, มนทยา สุนันทิวัฒน์, Montaya Sununtiwat, สมหญิง พุ่มทอง, Somying Pumtong, ลือรัตน์ อนุรัตน์พานิช and Luerat Anuratpanich. "ผลกระทบด้านสุขภาพจากสถานการณ์ระบาดของโควิด-19 ต่อผู้มีความบกพร่องทางการเห็นในเขตกรุงเทพมหานคร." 2565. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5616">http://hdl.handle.net/11228/5616</a>.
.custom.total_download11710
.custom.downloaded_today6
.custom.downloaded_this_month142
.custom.downloaded_this_year1131
.custom.downloaded_fiscal_year2485

Fulltext
Icon
Name: hsri-journal-v16n ...
Size: 395.4Kb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

  • Articles [1334]
    บทความวิชาการ

Show simple item record