Show simple item record

A Mid-Term Evaluation of Thailand National Strategic Plan on Antimicrobial Resistance 2017-2021

dc.contributor.authorวิลาวรรณ ล้วนคงสมจิตรth_TH
dc.contributor.authorVilawan Luankongsomchitth_TH
dc.contributor.authorธนพร บุษบาวไลth_TH
dc.contributor.authorThanaporn Bussabawalaith_TH
dc.contributor.authorทรงยศ พิลาสันต์th_TH
dc.contributor.authorSongyot Pilasantth_TH
dc.contributor.authorศรีเพ็ญ ตันติเวสสth_TH
dc.contributor.authorSripen Tantivessth_TH
dc.date.accessioned2022-06-29T07:11:55Z
dc.date.available2022-06-29T07:11:55Z
dc.date.issued2565-06
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 16,2 (เม.ย. - มิ.ย. 2565) : 183-201th_TH
dc.identifier.issn2672-9415
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/5617
dc.description.abstractในปี พ.ศ. 2559 คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบต่อ “แผนยุทธศาสตร์การจัดการการดื้อยาต้านจุลชีพประเทศไทย พ.ศ. 2560-2564” ซึ่งถือเป็นแผนยุทธศาสตร์ฉบับแรกของประเทศไทยที่มีขึ้นเพื่อแก้ไขปัญหาการดื้อยาต้านจุลชีพเป็นการเฉพาะ และต่อมาในปี พ.ศ. 2562 หน่วยงานที่รับผิดชอบเห็นสมควรให้มีการประเมินระยะครึ่งแผน (mid-term evaluation) ขึ้น เพื่อประเมินการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์ฯ และพัฒนาข้อเสนอเพื่อปรับปรุงการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ฯ ในระยะต่อไป การประเมินนี้ใช้วิธีวิจัยเชิงคุณภาพ ได้แก่ การทบทวนเอกสารในช่วงเดือนกรกฎาคมถึงตุลาคม พ.ศ. 2562 และการสัมภาษณ์เชิงลึกผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในช่วงเดือนกันยายนถึงพฤศจิกายน พ.ศ. 2562 การประเมินพบว่า แผนยุทธศาสตร์ฯ มีความครอบคลุมเรื่องสุขภาพหนึ่งเดียว (One Health) และทำให้เกิดความชัดเจนในการดำเนินงานเพื่อจัดการปัญหาเชื้อดื้อยามากขึ้น การมีกลไกคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ คณะทำงาน และแกนประสานในแต่ละยุทธศาสตร์ทำให้เกิดการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ฯ และสร้างความร่วมมือระหว่างหน่วยงาน การดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์ส่วนใหญ่เป็นไปตามแผนที่วางไว้ อย่างไรก็ตามยังคงพบปัญหาเรื่องการขาดการมีส่วนร่วมของบางหน่วยงาน ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อการดำเนินงาน ได้แก่ งบประมาณ ผู้บริหารในระดับกระทรวงและหน่วยงาน บุคลากรที่ทำหน้าที่เป็นแกนประสาน การมีองค์ความรู้สนับสนุนอย่างเพียงพอ และกรอบการทำงานที่ชัดเจน แผนยุทธศาสตร์มีกลไกการติดตามประเมินผลที่ค่อนข้างชัดเจน แต่มีข้อจำกัดเรื่องระบบเฝ้าระวังและฐานข้อมูล และมีหลายกิจกรรมที่ต้องการการปรับปรุง โดยเฉพาะกิจกรรมของหน่วยงานซึ่งไม่เคยมีภารกิจเกี่ยวกับเรื่องเชื้อดื้อยามาก่อน ที่ต้องการการสนับสนุนอย่างต่อเนื่อง ทั้งในด้านงบประมาณ การพัฒนาศักยภาพบุคลากร ข้อมูลทางด้านวิชาการ รวมถึงการสนับสนุนจากผู้บริหารth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectการดื้อยาth_TH
dc.subjectยาปฏิชีวนะth_TH
dc.subjectยา--การดื้อยาth_TH
dc.subjectDrug Resistanceth_TH
dc.subjectAntimicrobialth_TH
dc.subjectยาต้านจุลชีพth_TH
dc.subjectการประเมินผลth_TH
dc.subjectEvaluationth_TH
dc.titleการประเมินการดำเนินงานระยะครึ่งแผนตามแผนยุทธศาสตร์การจัดการการดื้อยาต้านจุลชีพประเทศไทย พ.ศ. 2560-2564th_TH
dc.title.alternativeA Mid-Term Evaluation of Thailand National Strategic Plan on Antimicrobial Resistance 2017-2021th_TH
dc.typeArticleth_TH
dc.description.abstractalternativeThe National Strategic Plan on Antimicrobial Resistance 2017-2021, which is Thailand’s first strategic plan addressing AMR issue, was endorsed by the cabinet in 2016. After halfway through the strategic plan’s implementation in 2019, a mid-term evaluation was conducted to assess the progression and develop recommendations for the next step. In this evaluation qualitative approach, including document review and in-depth interview were conducted during July to October 2019 and September to November 2019, respectively. It is suggested that the strategic plan conformed to the One Health principles and provided clearer guidance for management of AMR problems. The governance structure from the national committee, subcommittees, working groups, and coordinating team for each strategy, had a high contribution to the work progression through strong collaboration between respective organizations. Most of the activities were operated as planned. However, the evaluation showed lacks of participation efforts from some government institutes. The important factors that affected the implementation of the national AMR strategy included budget availability, executives at ministry and organizational level, coordinating personnel for each strategy, sufficient supporting knowledge, and clear framework for operation. It also found that despite well-defined monitoring and evaluation mechanisms, ineffective surveillance systems and databases were identified as crucial limitations. Moreover, many of the activities under the strategic plan needed to be improved especially those responsible by the organizations relatively new to the AMR management measures. For these organizations, persistent supports in terms of budget, capacity building, academic, and executives’ cooperation were recommended.th_TH
dc.subject.keywordการดื้อยาต้านจุลชีพth_TH
dc.subject.keywordAntimicrobial Resistanceth_TH
dc.subject.keywordAMRth_TH
.custom.citationวิลาวรรณ ล้วนคงสมจิตร, Vilawan Luankongsomchit, ธนพร บุษบาวไล, Thanaporn Bussabawalai, ทรงยศ พิลาสันต์, Songyot Pilasant, ศรีเพ็ญ ตันติเวสส and Sripen Tantivess. "การประเมินการดำเนินงานระยะครึ่งแผนตามแผนยุทธศาสตร์การจัดการการดื้อยาต้านจุลชีพประเทศไทย พ.ศ. 2560-2564." 2565. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5617">http://hdl.handle.net/11228/5617</a>.
.custom.total_download1055
.custom.downloaded_today1
.custom.downloaded_this_month27
.custom.downloaded_this_year359
.custom.downloaded_fiscal_year85

Fulltext
Icon
Name: hsri-journal-v16n ...
Size: 535.7Kb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

  • Articles [1352]
    บทความวิชาการ

Show simple item record