การประชุมสมัชชาอนามัยโลกแบบออนไลน์ครั้งแรกในประวัติศาสตร์
dc.contributor.author | โอริสา ซื่อสัตยาวงศ์ | th_TH |
dc.contributor.author | Orisa Sursattayawong | th_TH |
dc.contributor.author | บรรลุ ศุภอักษร | th_TH |
dc.contributor.author | Banlu Supaaksorn | th_TH |
dc.contributor.author | วริศา พานิชเกรียงไกร | th_TH |
dc.contributor.author | Warisa Panichkriangkrai | th_TH |
dc.contributor.author | ชะเอม พัชนี | th_TH |
dc.contributor.author | Cha-aim Pachanee | th_TH |
dc.contributor.author | วลัยพร พัชรนฤมล | th_TH |
dc.contributor.author | Walaiporn Patcharanarumol | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-06-30T03:56:48Z | |
dc.date.available | 2022-06-30T03:56:48Z | |
dc.date.issued | 2565-06 | |
dc.identifier.citation | วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 16,2 (เม.ย. - มิ.ย. 2565) : 266-279 | th_TH |
dc.identifier.issn | 2672-9415 | |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/5621 | |
dc.description.abstract | เนื่องจากการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ทั่วโลก องค์การอนามัยโลกจึงจัดการประชุมสมัชชาอนามัยโลก สมัยที่ 73 แบบออนไลน์เป็นครั้งแรก การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาทบทวนการจัดประชุมแบบออนไลน์และการเข้าร่วมประชุมของคณะผู้แทนไทย (2) วิเคราะห์ข้อดีและความท้าทายของการประชุมแบบออนไลน์ และ (3) วิเคราะห์ปัจจัยที่ทำให้คณะผู้แทนไทยเข้าร่วมประชุมอย่างมีประสิทธิผล โดยมีวิธีการศึกษาประกอบด้วย การทบทวนเอกสารที่เกี่ยวข้อง การสังเกตแบบมีส่วนร่วม การสอบถามและรวบรวมความคิดเห็นจากผู้ที่เกี่ยวข้อง ผลการศึกษาพบว่า การประชุมสมัชชาอนามัยโลก สมัยที่ 73 แบบออนไลน์ ประกอบด้วย 3 ช่วง คือ ช่วงที่หนึ่ง การประชุมเสมือนจริงแบบย่อ (virtual de minimis) ช่วงที่ 2 การพิจารณาเอกสารระหว่างช่วงที่หนึ่งและสาม (intersessional session) และช่วงที่ 3 การประชุมสืบเนื่องการประชุมสมัชชาอนามัยโลก สมัยที่ 73 (resumed World Health Assembly 73) คณะผู้แทนไทยมีส่วนร่วมทั้ง 3 ช่วง ซึ่งการประชุมแบบออนไลน์นั้น คณะผู้แทนไทยมีความสะดวกสามารถเข้าร่วมประชุมจากที่ไหนก็ได้ แต่ต้องมีสัญญาณอินเทอร์เน็ตที่ดีและมีความท้าทายในเรื่องเขตเวลา (time zone) ที่ต้องเข้าประชุมในช่วงดึกและต้องทำงานประจำในตอนเช้า ส่วนปัจจัยที่ทำให้คณะผู้แทนไทยเข้าร่วมประชุมอย่างมีประสิทธิผล คือ การทำงานเป็นทีม การเตรียมการอย่างเป็นระบบ และความสามารถในการปรับตัวของคณะผู้แทนไทย | th_TH |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.subject | การประชุม | th_TH |
dc.subject | การประชุมทางไกล | th_TH |
dc.subject | COVID-19 (Disease) | th_TH |
dc.subject | โควิด-19 (โรค) | th_TH |
dc.subject | Coronaviruses | th_TH |
dc.subject | ไวรัสโคโรนา | th_TH |
dc.subject | Coronavirus Infections | th_TH |
dc.subject | การติดเชื้อไวรัสโคโรนา | th_TH |
dc.title | การประชุมสมัชชาอนามัยโลกแบบออนไลน์ครั้งแรกในประวัติศาสตร์ | th_TH |
dc.title.alternative | The First Online World Health Assembly in History | th_TH |
dc.type | Article | th_TH |
dc.description.abstractalternative | Due to the global pandemic of coronavirus disease (COVID-19), the World Health Organization (WHO) decided to hold the 73rd World Health Assembly the first online meeting. The objectives of this study were (1) to review the online assembly and Thailand delegation’s online participation, (2) to analyze the advantages and challenges of online meeting and (3) to analyze the factors contributing to the success of the Thai delegates. The methods of this qualitative study included reviews of relevant documents, participant observations of the Thai delegates throughout the assembly meetings and opinions collection from the Thai delegates. The results showed that the 73rd World Health Assembly consisted of 3 sessions: (1) virtual de minimis – the concise virtual meeting, (2) intersessional session and (3) resumed 73rd World Health Assembly; all these sessions were participated by the Thai delegates. The online meeting was convenient as the delegates were able to connect to the meeting from anywhere with a good quality internet network. However, there was a challenge in terms of time zone difference that Thai delegates needed to attend the meeting at night and to continue their normal office hours. The factors contributing to the success of the Thai delegation were teamwork, systematic working process and adaptabilityof Thai delegates. | th_TH |
dc.subject.keyword | สมัชชาอนามัยโลก | th_TH |
dc.subject.keyword | World Health Assembly | th_TH |
dc.subject.keyword | ประชุมแบบออนไลน์ | th_TH |
dc.subject.keyword | Online Meeting | th_TH |
.custom.citation | โอริสา ซื่อสัตยาวงศ์, Orisa Sursattayawong, บรรลุ ศุภอักษร, Banlu Supaaksorn, วริศา พานิชเกรียงไกร, Warisa Panichkriangkrai, ชะเอม พัชนี, Cha-aim Pachanee, วลัยพร พัชรนฤมล and Walaiporn Patcharanarumol. "การประชุมสมัชชาอนามัยโลกแบบออนไลน์ครั้งแรกในประวัติศาสตร์." 2565. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5621">http://hdl.handle.net/11228/5621</a>. | |
.custom.total_download | 864 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 5 | |
.custom.downloaded_this_year | 381 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 90 |
ผลงานวิชาการเหล่านี้เป็นลิขสิทธิ์ของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข หากมีการนำไปใช้อ้างอิง โปรดอ้างถึงสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในฐานะเจ้าของลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติสงวนลิขสิทธิ์สำหรับการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ |
ฉบับเต็ม
ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้
-
Articles [1352]
บทความวิชาการ