แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

สถานการณ์ระบบสุขภาพที่พึงประสงค์ตามธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ: สาระหมวดการสร้างเสริมสุขภาพ และหมวดการป้องกันและควบคุมโรคและปัจจัยคุกคามสุขภาพ

dc.contributor.authorฐิติพร สุแก้วth_TH
dc.contributor.authorThitiporn Sukaewth_TH
dc.contributor.authorอังคณา เลขะกุลth_TH
dc.contributor.authorAngkana Lekagulth_TH
dc.contributor.authorกมลพัฒน์ มากแจ้งth_TH
dc.contributor.authorKamolphat Markchangth_TH
dc.contributor.authorทิพิชา โปษยานนท์th_TH
dc.contributor.authorTipicha Posayanondath_TH
dc.contributor.authorโศภิต นาสืบth_TH
dc.contributor.authorSopit Nasuebth_TH
dc.contributor.authorมธุดารา ไพยารมณ์th_TH
dc.contributor.authorMathudara Phaiyaromth_TH
dc.contributor.authorสตพร จุลชูth_TH
dc.contributor.authorSataporn Julchooth_TH
dc.contributor.authorจักร เจริญศิลป์ชัยth_TH
dc.contributor.authorChak Charoensilchaith_TH
dc.contributor.authorศิริธร อรไชยth_TH
dc.contributor.authorSirithorn Orachaith_TH
dc.contributor.authorนภินทร ศิริไทยth_TH
dc.contributor.authorNapintorn Sirithaith_TH
dc.date.accessioned2022-06-30T04:01:33Z
dc.date.available2022-06-30T04:01:33Z
dc.date.issued2565-06
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 16,2 (เม.ย. - มิ.ย. 2565) : 131-150th_TH
dc.identifier.issn2672-9415
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/5622
dc.description.abstractพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2550 มาตรา 27(3) บัญญัติให้สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ สำรวจ ศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลต่างๆ รวมทั้งสถานการณ์ของระบบสุขภาพ เพื่อให้เกิดการดำเนินการตามพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 การศึกษานี้จัดทำขึ้นเพื่อรายงานสถานการณ์ระบบสุขภาพที่พึงประสงค์ของไทยตามชุดตัวชี้วัดระบบสุขภาพที่พึงประสงค์ของประเทศไทยและวิเคราะห์ช่องว่างการดำเนินงานตามภาพพึงประสงค์ โดยใช้การวิจัยเชิงเอกสารและสังเคราะห์ข้อมูลทุติยภูมิเพื่อทบทวนสถานการณ์ วิเคราะห์ช่องว่างการดำเนินงานตามสาระหมวด รวมทั้งรับฟังความคิดเห็นจากผู้มีส่วนเกี่ยวข้องและผู้เชี่ยวชาญ การศึกษานี้ดำเนินการในหมวดสร้างเสริมสุขภาพ โดยใช้ตัวชี้วัดด้านอุบัติการณ์ผู้ติดเชื้อไวรัสเอชไอวีรายใหม่ อัตราตายก่อนวัยอันควรจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่สำคัญ 4 โรค อัตราตายจากการบาดเจ็บทางท้องถนน และอัตราตายที่เกิดจากมลพิษทางอากาศ และในหมวดการป้องกันควบคุมโรคและปัจจัยคุกคามสุขภาพ ใช้ข้อมูลการประเมินขีดความสามารถของการปฏิบัติตามกฎอนามัยระหว่างประเทศ ผลการศึกษาแสดงให้เห็นถึงความเชื่อมโยงกันระหว่างพันธะสัญญาในระดับโลกกับการกำกับติดตามการดำเนินงานของระบบสุขภาพของประเทศไทย โดยมีความเหมาะสมในการเป็นตัวแทนสาระหมวดที่แตกต่างกันตามองค์ความรู้และศักยภาพการติดตามการดำเนินงานตามนโยบายในระดับพื้นที่ ผลการศึกษาสนับสนุนการพัฒนาจัดทำตัวชี้วัดในระดับพื้นที่ที่มีการสอดแทรกกรอบแนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืน ทั้งในระดับท้องถิ่นและในระดับภูมิภาคth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติth_TH
dc.subjectพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติth_TH
dc.subjectสุขภาพ--กฎหมายและระเบียบข้อบังคับth_TH
dc.subjectนโยบายด้านสุขภาพth_TH
dc.subjectการป้องกันและควบคุมโรคth_TH
dc.subjectการสร้างเสริมสุขภาพth_TH
dc.titleสถานการณ์ระบบสุขภาพที่พึงประสงค์ตามธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ: สาระหมวดการสร้างเสริมสุขภาพ และหมวดการป้องกันและควบคุมโรคและปัจจัยคุกคามสุขภาพth_TH
dc.title.alternativeSituation of Desirable Thailand Health Systems According to the National Health System Constitution: Health Promotion, Disease Prevention and Health Hazards Controlth_TH
dc.typeArticleth_TH
dc.description.abstractalternativeArticle 27(3) of the National Health Act 2007 mandates the Office of the National Health Commission to conduct surveys, studies, and analyses of various data related to health systems of the nation. To assist the implementation of the National Health Act 2007, this study was conducted to assess the state of desirable Thailand health systems using a set of desirable health system indicators and to identify gaps in health system requirements. This study analyzed secondary data and conducted interviews with key informants and experts in the field to assess the status of each indicator and identify gaps in meeting the targets. This study focused on the articles of health promotion activities represented by the incidence of HIV infection, premature mortality from four major noncommunicable diseases. The articles on disease prevention included road traffic mortality and air pollution-attributable mortality. The articles on health hazards control included health systems capacity and emergency preparedness according to the International Health Regulations. The findings demonstrated the relationship between global commitments and the governance of Thailand health systems. The appropriateness of various indicators was determined by local knowledge as well as the ability to track the performance of local policies. The study findings suggested the creation of indicators should incorporate the Sustainable Development Goals both locally and regionally.th_TH
dc.subject.keywordปัจจัยคุกคามสุขภาพth_TH
.custom.citationฐิติพร สุแก้ว, Thitiporn Sukaew, อังคณา เลขะกุล, Angkana Lekagul, กมลพัฒน์ มากแจ้ง, Kamolphat Markchang, ทิพิชา โปษยานนท์, Tipicha Posayanonda, โศภิต นาสืบ, Sopit Nasueb, มธุดารา ไพยารมณ์, Mathudara Phaiyarom, สตพร จุลชู, Sataporn Julchoo, จักร เจริญศิลป์ชัย, Chak Charoensilchai, ศิริธร อรไชย, Sirithorn Orachai, นภินทร ศิริไทย and Napintorn Sirithai. "สถานการณ์ระบบสุขภาพที่พึงประสงค์ตามธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ: สาระหมวดการสร้างเสริมสุขภาพ และหมวดการป้องกันและควบคุมโรคและปัจจัยคุกคามสุขภาพ." 2565. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5622">http://hdl.handle.net/11228/5622</a>.
.custom.total_download824
.custom.downloaded_today1
.custom.downloaded_this_month30
.custom.downloaded_this_year394
.custom.downloaded_fiscal_year145

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hsri-journal-v16n ...
ขนาด: 535.7Kb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

  • Articles [1352]
    บทความวิชาการ

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย