สถานการณ์โควิด-19 ที่ท้าทายระบบสุขภาพปฐมภูมิไทย
dc.contributor.author | ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย | th_TH |
dc.contributor.author | Supasit Pannarunothai | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-06-30T04:34:52Z | |
dc.date.available | 2022-06-30T04:34:52Z | |
dc.date.issued | 2565-06 | |
dc.identifier.citation | วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 16,2 (เม.ย. - มิ.ย. 2565) : 129-130 | th_TH |
dc.identifier.issn | 2672-9415 | |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/5623 | |
dc.description.abstract | แล้วการระบาดของโรคโควิด19- ระดับโลกที่สร้างระเบียบวิถีใหม่ก็เปลี่ยนผ่านเข้าสู่วาระโรคประจำถิ่น การเขย่าโลกอย่างแรงทำให้คนทั่วโลกเกือบ 550 ล้านคนรายงานว่าป่วย 6.5 ล้านคนตาย และรับวัคซีนเกือบ 12,000 ล้านโด๊สพร้อมๆ กันในเวลาสองปีครึ่ง สำหรับประเทศไทยมีรายงานผู้ป่วย 4.5 ล้านคน เสียชีวิต 30,559 คน สถานการณ์นี้ทดสอบโครงสร้างสังคมได้ทุกซอกมุม ทั้งการเมือง เศรษฐกิจ ศิลปวัฒนธรรม วิทยาศาสตร์ และสุขภาพ และระบบสุขภาพที่เล็กที่สุดหรือใกล้ตัวทุกคนที่สุด คือระบบสุขภาพปฐมภูมิที่ได้ร่วมมือกอบกู้สถานการณ์การระบาดของโรคโควิด19 นับตั้งแต่ ระลอกที่หนึ่ง คือ เดือนมีนาคม - พฤศจิกายน 2563 ปฐมภูมิตรวจตราการติดเชื้อสายพันธุ์อู่ฮั่น ระลอกที่สอง คือ เดือนธันวาคม 2563 - มีนาคม 2564 ปฐมภูมิติดกับบทบาทเดิมสู้สายพันธุ์เดิม ระลอกที่สาม คือ เดือนเมษายน - มิถุนายน 2564 เป็นการระบาดของสายพันธุ์อัลฟา ติดเชื้อเพิ่มเกือบ 10 เท่า ระลอกที่สี่ คือ เดือนกรกฎาคม - ธันวาคม 2564 ติดเชื้อเพิ่มอีก 8 เท่า ระลอกที่ห้า คือ เดือนมกราคม - มิถุนายน 2565 ก่อนเข้าสู่โรคประจำถิ่นในเดือนกรกฎาคม 2565 ช่วงนี้ถือเป็นการพิสูจน์บทบาทอนาคตระบบสุขภาพปฐมภูมิ และน่าติดตามว่าประสบการณ์ที่ได้ร่วมกอบกู้สถานการณ์การระบาดของโรคโควิด19 จะมีบทบาทในการออกแบบระบบสุขภาพปฐมภูมิที่พึงประสงค์ตามพระราชบัญญัติระบบสุขภาพปฐมภูมิ พ.ศ. 2562(10) หรือไม่ | th_TH |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.subject | บริการปฐมภูมิ (การแพทย์) | th_TH |
dc.subject | สาธารณสุขมูลฐาน | th_TH |
dc.subject | Primary Health Care | th_TH |
dc.subject | COVID-19 (Disease) | th_TH |
dc.subject | โควิด-19 (โรค) | th_TH |
dc.subject | Coronaviruses | th_TH |
dc.subject | ไวรัสโคโรนา | th_TH |
dc.subject | Coronavirus Infections | th_TH |
dc.subject | การติดเชื้อไวรัสโคโรนา | th_TH |
dc.title | สถานการณ์โควิด-19 ที่ท้าทายระบบสุขภาพปฐมภูมิไทย | th_TH |
dc.title.alternative | COVID-19 Challenges Thailand Primary Care Systems | th_TH |
dc.type | Article | th_TH |
.custom.citation | ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย and Supasit Pannarunothai. "สถานการณ์โควิด-19 ที่ท้าทายระบบสุขภาพปฐมภูมิไทย." 2565. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5623">http://hdl.handle.net/11228/5623</a>. | |
.custom.total_download | 936 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 2 | |
.custom.downloaded_this_year | 255 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 51 |
ผลงานวิชาการเหล่านี้เป็นลิขสิทธิ์ของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข หากมีการนำไปใช้อ้างอิง โปรดอ้างถึงสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในฐานะเจ้าของลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติสงวนลิขสิทธิ์สำหรับการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ |
ฉบับเต็ม
ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้
-
Articles [1352]
บทความวิชาการ