แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

การเตรียมพร้อมและการจัดการตอบโต้การระบาดของโควิด-19 ในศาสนสถาน จังหวัดนครศรีธรรมราช

dc.contributor.authorจิตตาภรณ์ มงคลแก่นทรายth_TH
dc.contributor.authorJittaporn Mongkonkansaith_TH
dc.contributor.authorจำนงค์ ธนะภพth_TH
dc.contributor.authorChamnong Thanapopth_TH
dc.contributor.authorศศิธร ธนะภพth_TH
dc.contributor.authorSasithorn Thanapopth_TH
dc.contributor.authorวาริท เจาะจิตต์th_TH
dc.contributor.authorWarit Jawjitth_TH
dc.contributor.authorธนพร คำพยาth_TH
dc.contributor.authorTanaporn Khamphayath_TH
dc.contributor.authorอุไรวรรณ หมัดอ่าดัมth_TH
dc.contributor.authorUraiwan Madardamth_TH
dc.contributor.authorจิรพัฒน์ นาวารัตน์th_TH
dc.contributor.authorJiraphat Nawaratth_TH
dc.contributor.authorประเสริฐ มากแก้วth_TH
dc.contributor.authorPrasert Makkaewth_TH
dc.contributor.authorจารุภา เลขทิพย์th_TH
dc.contributor.authorCharupa Lektipth_TH
dc.contributor.authorนิธิมา หนูหลงth_TH
dc.contributor.authorNitima Nulongth_TH
dc.contributor.authorนพดล ปรีชาth_TH
dc.contributor.authorNopadol Prechath_TH
dc.date.accessioned2022-08-09T08:08:27Z
dc.date.available2022-08-09T08:08:27Z
dc.date.issued2565-04
dc.identifier.otherhs2851
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/5701
dc.description.abstractศาสนสถาน เป็นสถานที่หนึ่งที่ศักดิ์สิทธิ์ที่ผู้เคารพและศรัทธาได้เข้ามาประกอบดำเนินกิจกรรมสำคัญทางศาสนา ซึ่งเป็นสถานที่ที่มีการรวมกลุ่มของประชาชนจำนวนมาก ทำให้เพิ่มความเสี่ยงในการติดเชื้อโควิด-19 ได้มากขึ้น การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมในการเตรียมพร้อมและตอบสนองต่อการระบาดของโควิด-19 ในศาสนสถาน จังหวัดนครศรีธรรมราช จำนวนศาสนสถานทั้งหมด 9 ศาสนาสถาน ซึ่งประกอบไปด้วยทั้งศาสนาพุทธ คริสต์และอิสลาม ในอำเภอเมืองและอำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช มีกลุ่มตัวอย่างทั้งหมดจำนวน 202 คน (รวมศาสนสถานในการขยายผล) ผลการศึกษาพบว่า สำหรับแนวปฏิบัติการเตรียมความพร้อมและการตอบโต้การระบาดของโควิด-19 ในศาสนสถาน จังหวัดนครศรีธรรมราช ซึ่งเป็นเล่มคู่มือนั้น ในสถานการณ์โควิด-19 ระบาดทำให้ศาสนสถานปรับเปลี่ยนรูปแบบการป้องกันการแพร่ระบาดของโควิด-19 ในรูปแบบที่แตกต่างกันออกไป แต่อย่างไรก็ตามมาตรการที่ทุกศาสนาต้องยึดถือและปฏิบัติตามในแนวทางเดียวกัน คือ มาตรการ VUCA (Vaccine, Universal Prevention, COVID Free Setting และ ATK) มาตรการ DMHTTA (Distancing, Mask Wearing, Hand Washing, Temperature, Testing และ Application Thaichana) และมาตรการทางด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม เมื่อพิจารณาแยกตามบริบทของศาสนา ในแนวปฏิบัติจะประกอบด้วย แนวปฏิบัติของผู้รับผิดชอบศาสนสถาน นักบวช ประชาชนและศาสนพิธีที่สำคัญของแต่ละศาสนา ในจังหวัดนครศรีธรรมราชth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectReligious Institutionsth_TH
dc.subjectศาสนสถานth_TH
dc.subjectCOVID-19 (Disease)th_TH
dc.subjectโควิด-19 (โรค)th_TH
dc.subjectโควิด-19 (โรค)--การป้องกันและควบคุมth_TH
dc.subjectCoronavirusesth_TH
dc.subjectไวรัสโคโรนาth_TH
dc.subjectCoronavirus Infectionsth_TH
dc.subjectการติดเชื้อไวรัสโคโรนาth_TH
dc.subjectระบบบริการสุขภาพth_TH
dc.subjectHealth Service Systemth_TH
dc.subjectระบบบริการสาธารณสุขth_TH
dc.subjectHealth Care Systemth_TH
dc.subjectHealth Policyth_TH
dc.subjectนโยบายสาธารณสุขth_TH
dc.subjectภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance)th_TH
dc.subjectโรคติดต่อ, การควบคุมth_TH
dc.subjectCommunicable Disease Controlth_TH
dc.titleการเตรียมพร้อมและการจัดการตอบโต้การระบาดของโควิด-19 ในศาสนสถาน จังหวัดนครศรีธรรมราชth_TH
dc.title.alternativePreparedness and Responsiveness toward Covid-19 Epidemic at the Religious Institutions, Nakhon Si Thammarat Provinceth_TH
dc.typeTechnical Reportth_TH
dc.description.abstractalternativeReligious places are sacred places where people come to perform important religious activities according to their respect and faith. However, this gathering could increase the risk for the transmission of COVID-19 through the respiratory route. In this study, the participatory action research was done in 9 religious places, including Buddhism, Christianity, and Islam, in Mueang and Tha Sala Districts, Nakhon Si Thammarat Province. A total sample of 202 people (from 9 studied places and other extended religious places) was recruited. The results found that religious places changed the form of the prevention of the COVID-19 in different ways during the pandemic. However, measures that all religious places must implement and comply with are the VUCA (Vaccine, Universal Prevention, COVID Free Setting and ATK), DMHTTA (Distancing, Mask Wearing, Hand Washing, Temperature, Testing and Application Thaichana), and environmental health measures. Moreover, when considered in the context of each religion, the developed guideline will include practical recommendations for people in charge of religious places, priests, people, and important religious activities.th_TH
dc.identifier.callnoWC503 จ413ก 2565
dc.identifier.contactno64-054
.custom.citationจิตตาภรณ์ มงคลแก่นทราย, Jittaporn Mongkonkansai, จำนงค์ ธนะภพ, Chamnong Thanapop, ศศิธร ธนะภพ, Sasithorn Thanapop, วาริท เจาะจิตต์, Warit Jawjit, ธนพร คำพยา, Tanaporn Khamphaya, อุไรวรรณ หมัดอ่าดัม, Uraiwan Madardam, จิรพัฒน์ นาวารัตน์, Jiraphat Nawarat, ประเสริฐ มากแก้ว, Prasert Makkaew, จารุภา เลขทิพย์, Charupa Lektip, นิธิมา หนูหลง, Nitima Nulong, นพดล ปรีชา and Nopadol Precha. "การเตรียมพร้อมและการจัดการตอบโต้การระบาดของโควิด-19 ในศาสนสถาน จังหวัดนครศรีธรรมราช." 2565. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5701">http://hdl.handle.net/11228/5701</a>.
.custom.total_download32
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year1
.custom.downloaded_fiscal_year4

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hs2851.pdf
ขนาด: 8.752Mb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย