แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

การพัฒนาระบบการคัดกรองโรคไตเรื้อรังระยะเริ่มต้นในระดับปฐมภูมิด้วยชุดตรวจ albuminuria

dc.contributor.authorณัฐชัย ศรีสวัสดิ์th_TH
dc.contributor.authorNattachai Srisawatth_TH
dc.contributor.authorไตรรักษ์ พิสิษฐ์กุลth_TH
dc.contributor.authorTrirak Pisitkulth_TH
dc.contributor.authorสมกัญญา ตั้งสง่าth_TH
dc.contributor.authorSomkanya Tungsangath_TH
dc.contributor.authorกิตตินันท์ โกมลภิสth_TH
dc.contributor.authorKittinan Komolpisth_TH
dc.contributor.authorสดุดี พีรพรรัตนาth_TH
dc.contributor.authorSadudee Peerapornratanath_TH
dc.date.accessioned2022-08-15T08:38:42Z
dc.date.available2022-08-15T08:38:42Z
dc.date.issued2565-08
dc.identifier.otherhs2858
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/5706
dc.description.abstractโรคไตเรื้อรังถือว่าเป็นหนึ่งในปัญหาทางสุขภาพที่สำคัญทั้งในระดับชาติและระดับโลก เนื่องจากมีแนวโน้มที่ผู้ป่วยจะมีปริมาณเพิ่มขึ้นในแต่ละปี ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในระยะแรกจะยังไม่แสดงอาการของโรค แต่สามารถที่จะวินิจฉัยได้จากการวิเคราะห์ปริมาณไมโครอัลบูมินในปัสสาวะร่วมกับการวิเคราะห์ปริมาณซีรั่มครีอะตินีน ซึ่งจะต้องดำเนินการในโรงพยาบาลเท่านั้น เพื่อให้ประชากรกลุ่มเสี่ยงที่จะเป็นโรคไตเรื้อรังสามารถเข้าถึงการตรวจคัดกรองได้อย่างมีประสิทธิภาพและทั่วถึง โครงการวิจัยนี้จึงมุ่งเน้นการนำชุดตรวจคัดกรองไมโครอัลบูมินในปัสสาวะมาใช้ในการตรวจคัดกรองโรคไตเรื้อรังระยะต้น รวมถึงการจัดเก็บข้อมูลในรูปของฐานข้อมูลออนไลน์ เพื่อให้สะดวกต่อการติดตามและวางแผนการรักษาได้อย่างเหมาะสม จากการตรวจคัดกรองอาสาสมัครประชากรกลุ่มเสี่ยงที่จะเป็นโรคไตเรื้อรังที่ยังไม่แสดงอาการ ณ อำเภอบ้านแพ้ว จังหวัดสมุทรสาคร พบว่า มีอาสาสมัครที่เข้าเกณฑ์ต้องสงสัยว่าเป็นโรคไตเรื้อรัง จำนวน 595 ราย หรือคิดเป็น 25.72% จากอาสาสมัครทั้งหมด จำนวน 2,313 คน เมื่อทำการตรวจติดตามอาสาสมัครที่มีผลการตรวจเข้าเกณฑ์สงสัยโรคไตเรื้อรังหลังจาก 3 เดือน พบว่า มีอาสาสมัคร จำนวน178 ราย (จากอาสาสมัคร จำนวน 260 ราย) ยังคงมีความผิดปกติของการทำงานของไตเข้าเกณฑ์วินิจฉัยโรคไตเรื้อรัง ซึ่งสามารถคาดคะเนความชุกของโรคไตเรื้อรังอยู่ที่ 17.5% เท่ากับความชุกของโรคไตเรื้อรังทุกระยะในประชากรทั่วไปจากการศึกษา Thai-SEEK เมื่อพิจารณาผลการทดสอบด้วยชุดแถบตรวจโรคที่พัฒนาขึ้น พบว่า มีค่าความถูกต้อง (accuracy) เท่ากับ 96% ค่าความไวเฉลี่ย (sensitivity) เท่ากับ 86% มีค่าความจำเพาะเฉลี่ย (specificity) เท่ากับ 98% แสดงให้เห็นว่าชุดแถบตรวจโรคที่พัฒนาขึ้นนี้มีประสิทธิภาพและความแม่นยำสูง ใช้งานสะดวกและสามารถอ่านผลได้อย่างรวดเร็ว สามารถนำไปใช้ภายนอกห้องปฏิบัติการซึ่งสามารถเข้าถึงประชากรกลุ่มเสี่ยงได้มากขึ้น อีกทั้งยังมีศักยภาพที่จะนาไปใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ได้ต่อไปในอนาคตth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectโรคไตth_TH
dc.subjectKidney Diseasesth_TH
dc.subjectโรคไตเรื้อรังth_TH
dc.subjectChronic Kidney Diseaseth_TH
dc.subjectการตรวจคัดกรองth_TH
dc.subjectScreening Teststh_TH
dc.subjectAlbuminuriath_TH
dc.subjectAlbuminuria--Analysisth_TH
dc.subjectบริการปฐมภูมิ (การแพทย์)th_TH
dc.subjectPrimary Care (Medicine)th_TH
dc.subjectระบบบริการสุขภาพth_TH
dc.subjectHealth Service Systemth_TH
dc.subjectระบบบริการสาธารณสุขth_TH
dc.subjectHealth Care Systemth_TH
dc.subjectโปรแกรมประยุกต์th_TH
dc.subjectApplication Softwareth_TH
dc.subjectระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information Systems)th_TH
dc.subjectการบริการสุขภาพ (Health Service Delivery)th_TH
dc.titleการพัฒนาระบบการคัดกรองโรคไตเรื้อรังระยะเริ่มต้นในระดับปฐมภูมิด้วยชุดตรวจ albuminuriath_TH
dc.title.alternativeTotal Solution for Early Screening of Chronic Kidney Disease using Albuminuria Test Kits in Primary Careth_TH
dc.typeTechnical Reportth_TH
dc.description.abstractalternativeChronic kidney disease is one of a major health problem both nationally and globally due to the tendency of the patient has been increased annually. At an early stage of chronic kidney disease, the patient has no symptom, but the diagnosis is possible by analyze an amount of microalbumin in urine and combine with serum creatinine. However, this process is allowed at the hospital only. To enable an effective and extensive access for a high-risk of chronic kidney disease population, this project focuses on using a urine microalbumin screening test kit for screening the chronic kidney disease at an early stage and including data storage in an online database for easily follow up and proper treatment planning. From the screening of a high-risk of chronic kidney disease population and asymptomatic at Ban Phaeo District in Samut Sakhon province, the 595 volunteers or 25.72% out of the 2,313 volunteers in total was suspected of chronic kidney disease. After 3 months follow-up, 178 patients (out of 260 volunteers) still had renal dysfunction that met the criteria for diagnosis of chronic kidney disease. The estimated prevalence of chronic kidney disease was 17.5%, which is similar to the prevalence in a general population from the Thai-SEEK project. The urine microalbumin screening test kit provides 96% accuracy, 86% sensitivity, and 98% specificity that indicated an efficient, highly accurate, convenient to use, and the results can be read rapidly. It can be used outside the laboratory which enable to reach high-risk populations. Moreover, it also possesses the potential for further commercial use.th_TH
dc.identifier.callnoWJ340 ณ328ก 2565
dc.identifier.contactno64-068
dc.subject.keywordโรคไตเรื้อรังระยะต้นth_TH
dc.subject.keywordAlbuminuria Test Kitsth_TH
dc.subject.keywordระบบการจัดเก็บข้อมูลth_TH
.custom.citationณัฐชัย ศรีสวัสดิ์, Nattachai Srisawat, ไตรรักษ์ พิสิษฐ์กุล, Trirak Pisitkul, สมกัญญา ตั้งสง่า, Somkanya Tungsanga, กิตตินันท์ โกมลภิส, Kittinan Komolpis, สดุดี พีรพรรัตนา and Sadudee Peerapornratana. "การพัฒนาระบบการคัดกรองโรคไตเรื้อรังระยะเริ่มต้นในระดับปฐมภูมิด้วยชุดตรวจ albuminuria." 2565. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5706">http://hdl.handle.net/11228/5706</a>.
.custom.total_download179
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month1
.custom.downloaded_this_year85
.custom.downloaded_fiscal_year6

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hs2858.pdf
ขนาด: 13.58Mb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย