Crisis Management during the First Wave of COVID-19 Pandemic Situation
dc.contributor.author | ธีระ วรธนารัตน์ | th_TH |
dc.contributor.author | Thira Woratanarat | th_TH |
dc.contributor.author | ภัทรวัณย์ วรธนารัตน์ | th_TH |
dc.contributor.author | Patarawan Woratanarat | th_TH |
dc.contributor.author | อารียา จิรธนานุวัฒน์ | th_TH |
dc.contributor.author | Areeya Jirathananuwat | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-09-30T07:36:06Z | |
dc.date.available | 2022-09-30T07:36:06Z | |
dc.date.issued | 2565-09 | |
dc.identifier.citation | วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 16,3 (ก.ค. - ก.ย. 2565) : 370-389 | th_TH |
dc.identifier.issn | 2672-9415 | |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/5744 | |
dc.description.abstract | โควิด-19 (COVID-19) เป็นวิกฤตโรคระบาดครั้งใหญ่ของประเทศไทยและของโลก ส่งผลกระทบต่อสถานะสุขภาพของประชาชนไทยทั้งประเทศ การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอกลไกและกระบวนการบริหารจัดการของรัฐที่ตอบสนองต่อเหตุการณ์สำคัญระหว่างสถานการณ์การระบาดของโควิด-19 ในประเทศไทยระลอกแรกในช่วงปี พ.ศ. 2563 ระเบียบวิธีศึกษา ดำเนินการทบทวนเอกสารย้อนหลังเกี่ยวกับการบริหารจัดการของรัฐในช่วงสถานการณ์โควิด-19 ระหว่างเดือนมกราคมถึงเดือนธันวาคม 2563 โดยสืบค้นจากแหล่งข้อมูลออนไลน์ สรุปประสบการณ์ตรงของคณะวิจัยที่ทำงานวิชาการและยุทธศาสตร์ให้กับคณะทำงานของศูนย์ปฏิบัติการศูนย์บริหารสถานการณ์โควิด-19 (ศปก.ศบค.) และสัมภาษณ์ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องจากภาครัฐ เอกชนและประชาสังคม ผลการศึกษาพบว่า การบริหารจัดการภาวะวิกฤตในแต่ละระยะนั้นมีความแตกต่างกัน ระยะเตรียมการจนถึงระยะตอบสนองการระบาดเต็มรูปแบบนั้นมีลักษณะสำคัญคือนโยบายและมาตรการได้รับการสั่งการถ่ายทอดไปสู่ระดับพื้นที่ในทิศทางเดียวและรูปแบบเดียว ในขณะที่ระยะต่อเนื่องได้มีการกระจายอำนาจการตัดสินใจไปยังระดับจังหวัดและเขตเพื่อให้พิจารณาแผนปฏิบัติการตามแต่บริบทของตนเอง โดยมุ่งที่จะหาจุดสมดุลระหว่างผลลัพธ์ทางสุขภาพและผลกระทบต่อเศรษฐกิจ | th_TH |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.subject | การจัดการในภาวะวิกฤต | th_TH |
dc.subject | Crisis Management | th_TH |
dc.subject | การแก้ปัญหา | th_TH |
dc.subject | Problem Solving | th_TH |
dc.subject | COVID-19 (Disease) | th_TH |
dc.subject | โควิด-19 (โรค) | th_TH |
dc.subject | Coronaviruses | th_TH |
dc.subject | ไวรัสโคโรนา | th_TH |
dc.subject | Coronavirus Infections | th_TH |
dc.subject | การติดเชื้อไวรัสโคโรนา | th_TH |
dc.subject | Health Policy | th_TH |
dc.subject | นโยบายสาธารณสุข | th_TH |
dc.subject | ระบบบริการสาธารณสุข | th_TH |
dc.subject | Health Care System | th_TH |
dc.subject | การบริหารสาธารณสุข | th_TH |
dc.subject | Health Administration | th_TH |
dc.title | การบริหารจัดการภาวะวิกฤตในช่วงสถานการณ์การระบาดของโควิด-19 ระลอกแรก | th_TH |
dc.title.alternative | Crisis Management during the First Wave of COVID-19 Pandemic Situation | th_TH |
dc.type | Article | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The coronavirus disease (COVID-19) is a massive pandemic crisis occurring across Thailand and the world. It has entirely affected the health system responsiveness of Thailand. The purpose of this study was to examine the governance mechanism and management processes in response to the first wave of COVID-19 in Thailand in 2020. A retrospective document review was conducted by studying the government’s management during the COVID-19 situation between January and December 2020 via online resources and websites, and summarized our research team’s lessons learnt from direct participation in academic and strategic supports for the Operation Center of the Center for COVID-19 Situation Administration (OC-CCSA) as well as key informant interview in the stakeholders from government, private and civil society sectors. The results revealed that crisis management differed at each step. From the preparatory phase to the full outbreak response phase, the policies and measures were unidirectionally implemented as “one-size-fits-all”. During the continuous phase, regional and provincial decentralization has been used in order to align with local context to balance between health and economic outcomes. | th_TH |
dc.subject.keyword | การบริหารจัดการภาวะวิกฤต | th_TH |
.custom.citation | ธีระ วรธนารัตน์, Thira Woratanarat, ภัทรวัณย์ วรธนารัตน์, Patarawan Woratanarat, อารียา จิรธนานุวัฒน์ and Areeya Jirathananuwat. "การบริหารจัดการภาวะวิกฤตในช่วงสถานการณ์การระบาดของโควิด-19 ระลอกแรก." 2565. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5744">http://hdl.handle.net/11228/5744</a>. | |
.custom.total_download | 3805 | |
.custom.downloaded_today | 2 | |
.custom.downloaded_this_month | 124 | |
.custom.downloaded_this_year | 1759 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 387 |
ผลงานวิชาการเหล่านี้เป็นลิขสิทธิ์ของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข หากมีการนำไปใช้อ้างอิง โปรดอ้างถึงสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในฐานะเจ้าของลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติสงวนลิขสิทธิ์สำหรับการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ |
Fulltext
This item appears in the following Collection(s)
-
Articles [1352]
บทความวิชาการ