Older Adults Agenda and Health Systems Research Agenda
dc.contributor.author | ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย | th_TH |
dc.contributor.author | Supasit Pannarunothai | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-12-29T02:53:07Z | |
dc.date.available | 2022-12-29T02:53:07Z | |
dc.date.issued | 2565-12 | |
dc.identifier.citation | วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 16,4 (ต.ค. - ธ.ค. 2565) : 419-420 | th_TH |
dc.identifier.issn | 2672-9415 | |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/5785 | |
dc.description.abstract | ปี พ.ศ. 2566 ประเทศไทยก้าวเข้าสู่แผนปฏิบัติการด้านผู้สูงอายุระยะที่ 3 พ.ศ. 2566-2580 โดยแผนระยะที่ 3 มีวิสัยทัศน์ คือ “ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตดี มีหลักประกันมั่นคง เป็นพลังพัฒนาสังคม” จากการระบาดของโควิด-19 ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2563 มีข้อกังวลว่าผู้สูงอายุจะได้รับผลกระทบมากและกระทบถึงอายุขัยประชากร (life expectancy) กับโครงสร้างประชากรโลก ส่วนการศึกษาในประเทศไทยที่ตีพิมพ์ในวารสารฉบับนี้เกี่ยวกับผลกระทบของการระบาดของโควิด-19 ต่อคุณภาพชีวิตและความพึงพอใจต่อภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุในช่วงต่างๆ ของการระบาด พบว่า คะแนนคุณภาพชีวิตและความพึงพอใจต่อภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุแตกต่างกันไปตามแต่ละภูมิภาคและช่วงเวลา ในภาพรวมพบว่า ช่วงปี พ.ศ. 2564 มีคะแนนลดลงจากช่วงปี พ.ศ. 2563 เนื่องจากมีการระบาดของโรคมากขึ้นและมีมาตรการที่รบกวนชีวิตความเป็นอยู่มากขึ้น โดยมีข้อสังเกตว่า ระดับคะแนนความพึงพอใจที่ให้แบบรวบยอด มีคะแนนต่ำกว่าคะแนนคุณภาพชีวิตที่ได้จากคำถาม 5 ด้าน ที่ประเมินเป็น 3 ระดับ คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุจึงมีส่วนสัมพันธ์กับข้อจำกัดของการเคลื่อนไหวและการดำรงชีวิต ความยินดีจ่ายสำหรับบริการการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุสัมพันธ์กับจำนวนฟันที่เหลืออยู่ ซึ่งข้อค้นพบอาจมีประโยชน์ต่อกลุ่มวัยเด็กและวัยทำงานที่อาศัยอยู่ในสิ่งแวดล้อมเดียวกัน และยังสามารถหาความสัมพันธ์กับปัจจัยสิ่งแวดล้อม ซึ่งสมควรที่จะได้รับความสนใจพัฒนาต่อเพื่อให้สามารถก่อประโยชน์ตามแผนปฏิบัติการผู้สูงอายุก่อนสิ้นปี พ.ศ. 2580 และยังเป็นประโยชน์ต่อกลุ่มวัยอื่นอีกด้วย | th_TH |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.subject | ผู้สูงอายุ | th_TH |
dc.subject | Elderly | th_TH |
dc.subject | ระบบสุขภาพ | th_TH |
dc.subject | Health Systems | th_TH |
dc.subject | Health--Management | th_TH |
dc.subject | การจัดการด้านสุขภาพ | th_TH |
dc.subject | Health Policy | th_TH |
dc.subject | นโยบายสาธารณสุข | th_TH |
dc.title | วาระผู้สูงอายุ กับ วาระวิจัยระบบสุขภาพ | th_TH |
dc.title.alternative | Older Adults Agenda and Health Systems Research Agenda | th_TH |
dc.type | Article | th_TH |
.custom.citation | ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย and Supasit Pannarunothai. "วาระผู้สูงอายุ กับ วาระวิจัยระบบสุขภาพ." 2565. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5785">http://hdl.handle.net/11228/5785</a>. | |
.custom.total_download | 1124 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 19 | |
.custom.downloaded_this_year | 513 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 68 |
ผลงานวิชาการเหล่านี้เป็นลิขสิทธิ์ของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข หากมีการนำไปใช้อ้างอิง โปรดอ้างถึงสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในฐานะเจ้าของลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติสงวนลิขสิทธิ์สำหรับการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ |
Fulltext
This item appears in the following Collection(s)
-
Articles [1352]
บทความวิชาการ