Show simple item record

Willingness to Pay for Elderly Care in Nam Phong District, Khon Kaen Province

dc.contributor.authorพสิษฐ์ พัจนาth_TH
dc.contributor.authorPhasith Phatchanath_TH
dc.contributor.authorสุรศักดิ์ ไชยสงค์th_TH
dc.contributor.authorSurasak Chaiyasongth_TH
dc.contributor.authorร่มตะวัน กาลพัฒน์th_TH
dc.contributor.authorRomtawan Kalapatth_TH
dc.contributor.authorนวลจันทร์ แสนกองth_TH
dc.contributor.authorNuanchan Sankongth_TH
dc.contributor.authorกฤษณี สระมุณีth_TH
dc.contributor.authorKritsanee Saramuneeth_TH
dc.contributor.authorขวัญดาว มาลาสายth_TH
dc.contributor.authorKhuandao Malasaith_TH
dc.contributor.authorกุลปรียา โพธิ์ศรีth_TH
dc.contributor.authorKulpreya Phosrith_TH
dc.contributor.authorภิเษก ระดีth_TH
dc.contributor.authorBhisek Radeeth_TH
dc.date.accessioned2022-12-29T03:41:50Z
dc.date.available2022-12-29T03:41:50Z
dc.date.issued2565-12
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 16,4 (ต.ค. - ธ.ค. 2565) : 437-455th_TH
dc.identifier.issn2672-9415
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/5787
dc.description.abstractการศึกษานี้จัดทำขึ้นเพื่อวิเคราะห์มูลค่าความยินดีจ่ายสำหรับบริการการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความยินดีจ่าย กลุ่มตัวอย่างของการศึกษา คือ ประชากรอายุ 18 ปีขึ้นไปที่อาศัยอยู่ในตำบลสะอาดและตำบลหนองกุง อำเภอน้ำพอง จังหวัดขอนแก่น จำนวน 420 คน ผลการศึกษา พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีอายุเฉลี่ย 57.6 ปี ร้อยละ 71.0 เป็นผู้หญิง ร้อยละ 75.2 มีการศึกษาระดับประถมศึกษาหรือต่ำกว่า มากกว่าครึ่งอยู่ในครัวเรือนที่มีรายได้ต่ำกว่า 10,000 บาทต่อเดือน มากกว่าครึ่งมีโรคประจำตัว และร้อยละ 63.1 ไม่เคยดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง และปัญหาในการใช้ชีวิต 3 อันดับแรก ได้แก่ ร้อยละ 9.8 มีปัญหาในการเคลื่อนไหว ร้อยละ 8.3 มีอาการเจ็บป่วยหรือไม่สบายตัว ร้อยละ 6.9 มีความวิตกกังวล/ความซึมเศร้า มากกว่าร้อยละ 90 มีความสนใจเข้าร่วมโครงการการดูแลฯ และมากกว่าร้อยละ 90 มีความยินดีจ่ายโดยมูลค่าความยินดีจ่ายเฉลี่ยเท่ากับ 373.77 บาท (SD=286.01) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความยินดีจ่ายอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) ได้แก่ อายุ รายได้ครัวเรือน การสูบบุหรี่ คุณภาพชีวิต การมีปัญหาในการดูแลตนเอง ความวิตกกังวลหรือความซึมเศร้า ความสนใจเข้าร่วมโครงการ และราคาค่าบริการเริ่มต้น สำหรับปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับมูลค่าความยินดีจ่ายอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) ได้แก่ รายได้ครัวเรือน ขนาดครัวเรือน ระยะเวลาการดูแลผู้สูงอายุ การมีปัญหาในการดูแลตนเอง และราคาค่าบริการเริ่มต้น การศึกษาเรื่องความยินดีจ่ายสำหรับบริการการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในประเทศไทยยังมีค่อนข้างน้อย การจัดบริการของพื้นที่นี้ถือเป็นกรณีศึกษาสำหรับพื้นที่อื่นที่มีบริบทและรูปแบบกิจกรรมใกล้เคียงกันได้th_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectผู้สูงอายุth_TH
dc.subjectElderlyth_TH
dc.subjectผู้สูงอายุ--การดูแลth_TH
dc.subjectผู้สูงอายุ--การพยาบาลth_TH
dc.subjectWillingness to Payth_TH
dc.subjectQuality of Lifeth_TH
dc.subjectคุณภาพชีวิตth_TH
dc.titleความยินดีจ่ายสำหรับบริการการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง อำเภอน้ำพอง จังหวัดขอนแก่นth_TH
dc.title.alternativeWillingness to Pay for Elderly Care in Nam Phong District, Khon Kaen Provinceth_TH
dc.typeArticleth_TH
dc.description.abstractalternativeThis study aimed to estimate the value of willingness-to-pay (WTP) for elderly care and study the impact of factors on willingness-to-pay for the elderly care. A total of samples in this study were 420 people aged 18 years and older, living in Sa-Ad and Nongkung subdistricts, Namphong district, Khon Kaen province. The study found that mean age of the samples was 57.6 years, 71.0% were females, 75.2% had primary school education or lower, more than a half lived with a monthly household income of <10,000 baht, more than a half reported having health problems, and 63.1% never provided care to dependent elderly. The three major problems related daily activities reported were: 9.8% having difficulty of physical movement, 8.3% feeling sick, and 6.9% having stress/depression. More than 90% of respondents were willing to join and pay for the elderly care program. The mean value of willingness-to-pay for the elderly care was 373.77 baht (SD=286.01). This study found that willingness-to-pay was significantly associated with age, household income, smoking behavior, quality of life, selfcare problem, anxiety/ depression, willingness-to-join the care program and starting price (p < 0.05). The study also found that WTP value was associated with household income, size of household, years of providing elderly care, selfcare problem and starting price (p < 0.05). As willingness-to-pay for elderly care studies are still limited in Thailand, findings of the present study could be good lessons for other areas or settings.th_TH
dc.subject.keywordความยินดีจ่ายth_TH
.custom.citationพสิษฐ์ พัจนา, Phasith Phatchana, สุรศักดิ์ ไชยสงค์, Surasak Chaiyasong, ร่มตะวัน กาลพัฒน์, Romtawan Kalapat, นวลจันทร์ แสนกอง, Nuanchan Sankong, กฤษณี สระมุณี, Kritsanee Saramunee, ขวัญดาว มาลาสาย, Khuandao Malasai, กุลปรียา โพธิ์ศรี, Kulpreya Phosri, ภิเษก ระดี and Bhisek Radee. "ความยินดีจ่ายสำหรับบริการการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง อำเภอน้ำพอง จังหวัดขอนแก่น." 2565. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5787">http://hdl.handle.net/11228/5787</a>.
.custom.total_download409
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month21
.custom.downloaded_this_year110
.custom.downloaded_fiscal_year167

Fulltext
Icon
Name: hsri-journal-v16n ...
Size: 1.093Mb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

  • Articles [1334]
    บทความวิชาการ

Show simple item record