Show simple item record

Benefits of Household Survey for Health Policy and Health System Development in Thailand

dc.contributor.authorอรณา จันทรศิริth_TH
dc.contributor.authorOrana Chandrasirith_TH
dc.contributor.authorพุฒิปัญญา เรืองสมth_TH
dc.contributor.authorPutthipanya Rueangsomth_TH
dc.contributor.authorชนิกานต์ เนตรภักดีth_TH
dc.contributor.authorChanikarn Netrpukdeeth_TH
dc.contributor.authorวุฒิพันธุ์ วงษ์มงคลth_TH
dc.contributor.authorVuthiphan Vongmongkolth_TH
dc.contributor.authorชาฮีดา วิริยาทรth_TH
dc.contributor.authorShaheda Viriyathornth_TH
dc.contributor.authorเยาวลักษณ์ แหวนวงษ์th_TH
dc.contributor.authorYaowaluk Wanwongth_TH
dc.contributor.authorณัฐพัชร์ มรรคาth_TH
dc.contributor.authorNuttapat Makkath_TH
dc.contributor.authorจินตนา จันทร์โคตรแก้วth_TH
dc.contributor.authorJintana Jankhotkaewth_TH
dc.contributor.authorพเยาว์ ผ่อนสุขth_TH
dc.contributor.authorPayao Phonsukth_TH
dc.contributor.authorนิศาชล เศรษฐไกรกุลth_TH
dc.contributor.authorNisachol Cetthakrikulth_TH
dc.contributor.authorสุรศักดิ์ ไชยสงค์th_TH
dc.contributor.authorSurasak Chaiyasongth_TH
dc.contributor.authorอังคณา เลขะกุลth_TH
dc.contributor.authorAngkana Lekagulth_TH
dc.contributor.authorระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์th_TH
dc.contributor.authorRapeepong Suphanchaimatth_TH
dc.contributor.authorวริศา พานิชเกรียงไกรth_TH
dc.contributor.authorWarisa Panichkriangkraith_TH
dc.contributor.authorวลัยพร พัชรนฤมลth_TH
dc.contributor.authorWalaiporn Patcharanarumolth_TH
dc.contributor.authorวิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียรth_TH
dc.contributor.authorViroj Tangcharoensathienth_TH
dc.date.accessioned2022-12-29T04:29:03Z
dc.date.available2022-12-29T04:29:03Z
dc.date.issued2565-12
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 16,4 (ต.ค. - ธ.ค. 2565) : 523-538th_TH
dc.identifier.issn2672-9415
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/5792
dc.description.abstractสำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศได้ใช้ประโยชน์จากข้อมูลสำรวจสถิติครัวเรือนที่จัดทำโดยสำนักงานสถิติแห่งชาติ (สสช.) อย่างต่อเนื่องในช่วง 2 ทศวรรษที่ผ่านมา เพื่ออ้างอิงในกระบวนการกำหนดนโยบายสุขภาพจนบรรลุผลหลายประเด็น บทความนี้เป็นการรวบรวมผลสำเร็จของการใช้ประโยชน์จากข้อมูลสำรวจสถิติครัวเรือน ที่สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศนำไปใช้ในกระบวนการกำหนดนโยบายสุขภาพและระบบสุขภาพของประเทศไทย การสำรวจสถิติครัวเรือนโดย สสช. เกี่ยวกับประเด็นสุขภาพรวมมี 9 การสำรวจ ใน 12 ประเด็น ได้แก่ประเด็นด้าน 1) หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 2) นโยบายด้านการคลังสุขภาพ 3) การศึกษาภาระโรคและการบาดเจ็บของประชากรไทย 4) ความเป็นธรรมด้านสุขภาพ 5) ความรู้และความตระหนักเกี่ยวกับเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพของประชาชน 6) พฤติกรรมการสูบบุหรี่และดื่มสุรา 7) นโยบายด้านอาหารและโภชนาการ 8) การส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ 9) การส่งเสริมกิจกรรมทางกายและลดพฤติกรรมเนือยนิ่ง 10) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อ 11) การคาดการณ์ความต้องการกำลังคนด้านสุขภาพ และ 12) สุขภาพของกลุ่มผู้ลี้ภัยในเมืองและผู้แสวงหาที่ลี้ภัย ข้อมูลจากการสำรวจครัวเรือนมีจุดเด่นที่สำคัญ 5 ประการ คือ (ก) ข้อมูลด้านสุขภาพหลายหัวข้อที่ได้จากการสำรวจครัวเรือนนั้นเป็นแหล่งข้อมูลเพียงแหล่งเดียวเท่านั้น (ข) เป็นข้อมูลตัวแทนที่เชื่อถือได้ในระดับประเทศ (ค) คุณภาพข้อมูลเหมาะสมสำหรับใช้เป็นกลไกและตัวชี้วัดในการกำกับติดตามประเมินผลในระดับประเทศและระดับโลก (ง) ข้อมูลมีลักษณะสร้างความเสมอภาคและความเป็นธรรมด้านสุขภาพ และ (จ) เป็นกลไกแสดงศักยภาพของประเทศไทยในเวทีโลก ประเด็นท้าทายคือการปรับกระบวนทัศน์ของระบบข้อมูลประเทศ เพื่อตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและเทคโนโลยีที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว โดยยังรักษามาตรฐานคุณภาพของข้อมูล และสร้างความยั่งยืนของการสำรวจสถิติครัวเรือนth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectHousehold Surveysth_TH
dc.subjectอนามัย, การสำรวจth_TH
dc.subjectHealth Surveys--Thailandth_TH
dc.subjectHealth Surveys--Statisticsth_TH
dc.subjectระบบสุขภาพth_TH
dc.subjectHealth Systemsth_TH
dc.subjectHealth--Managementth_TH
dc.subjectการจัดการด้านสุขภาพth_TH
dc.subjectHealth Policyth_TH
dc.subjectนโยบายสาธารณสุขth_TH
dc.titleประโยชน์ของข้อมูลการสำรวจครัวเรือนเพื่อการพัฒนานโยบายสุขภาพและระบบสุขภาพในประเทศไทยth_TH
dc.title.alternativeBenefits of Household Survey for Health Policy and Health System Development in Thailandth_TH
dc.typeArticleth_TH
dc.description.abstractalternativeThe International Health Policy Program (IHPP) has been using household surveys conducted by the National Statistical Office (NSO) for more than two decades. These surveys contribute to the advancement of several health policies. This article presents successful evidence of IHPP using household statistics survey data to support the process of health policy and health system development. Nine NSO surveys related to health under 12 health topics include 1) universal health coverage, 2) health financing, 3) the burden of disease, 4) health (in)equity, 5) antimicrobial resistance, 6) smoking and alcohol consumption, 7) food and nutrition, 8) breastfeeding, 9) physical activity and sedentary lifestyle, 10) non-communicable disease risk factors, 11) health workforce and 12) health of urban refugees and asylum seekers. Five predominant characteristics of NSO surveys include (a) one-stop data source available for most health domains, (b) national representativeness due to large and probabilistic sampling techniques, (c) standard proxies for global and national monitoring systems, (d) ability to track health equity, and (e) compliance with international benchmarking systems. The future challenge lies on improvement of the quality of data and ensuring the sustainability of surveys.th_TH
dc.subject.keywordสถิติครัวเรือนth_TH
.custom.citationอรณา จันทรศิริ, Orana Chandrasiri, พุฒิปัญญา เรืองสม, Putthipanya Rueangsom, ชนิกานต์ เนตรภักดี, Chanikarn Netrpukdee, วุฒิพันธุ์ วงษ์มงคล, Vuthiphan Vongmongkol, ชาฮีดา วิริยาทร, Shaheda Viriyathorn, เยาวลักษณ์ แหวนวงษ์, Yaowaluk Wanwong, ณัฐพัชร์ มรรคา, Nuttapat Makka, จินตนา จันทร์โคตรแก้ว, Jintana Jankhotkaew, พเยาว์ ผ่อนสุข, Payao Phonsuk, นิศาชล เศรษฐไกรกุล, Nisachol Cetthakrikul, สุรศักดิ์ ไชยสงค์, Surasak Chaiyasong, อังคณา เลขะกุล, Angkana Lekagul, ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์, Rapeepong Suphanchaimat, วริศา พานิชเกรียงไกร, Warisa Panichkriangkrai, วลัยพร พัชรนฤมล, Walaiporn Patcharanarumol, วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร and Viroj Tangcharoensathien. "ประโยชน์ของข้อมูลการสำรวจครัวเรือนเพื่อการพัฒนานโยบายสุขภาพและระบบสุขภาพในประเทศไทย." 2565. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5792">http://hdl.handle.net/11228/5792</a>.
.custom.total_download368
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month16
.custom.downloaded_this_year67
.custom.downloaded_fiscal_year123

Fulltext
Icon
Name: hsri-journal-v16n ...
Size: 1015.Kb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

  • Articles [1326]
    บทความวิชาการ

Show simple item record