แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

การสังเคราะห์ข้อเสนอแพลตฟอร์มสุขภาพดิจิทัลตามนโยบายปฏิรูปประเทศด้านสาธารณสุขในเขตสุขภาพนำร่อง ประเด็นโรคติดเชื้ออุบัติใหม่และโรคไม่ติดต่อ

dc.contributor.authorอนันต์ กนกศิลป์th_TH
dc.contributor.authorAnant Kanoksilpth_TH
dc.contributor.authorบุญชัย กิจสนาโยธินth_TH
dc.contributor.authorBoonchai Kijsanayotinth_TH
dc.contributor.authorกนกวรรณ มาป้องth_TH
dc.contributor.authorKanokwan Mapongth_TH
dc.contributor.authorรุ่งนิภา อมาตยคงth_TH
dc.contributor.authorRoongnipa Amattayakongth_TH
dc.date.accessioned2023-03-28T06:42:33Z
dc.date.available2023-03-28T06:42:33Z
dc.date.issued2565-11
dc.identifier.otherhs2949
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/5843
dc.description.abstractเนื่องจากระบบข้อมูลสารสนเทศสุขภาพของประเทศไทยมีหลายระบบ มีข้อมูลตัวชี้วัดโครงการต่างๆ มากมายมีความซ้ำซ้อนไม่สามารถบูรณาการกันได้ ทั้งระบบรายงานและการเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาล ยังไม่ได้นำมาใช้ประโยชน์อย่างเต็มที่ การศึกษาครั้งนี้จึงเป็นการศึกษาเชิงวิเคราะห์ เพื่อศึกษาหารูปแบบและแนวทางในการจัดการที่เหมาะสมทั้งระบบนิเวศน์ที่มีผลต่อการขับเคลื่อนระบบสุขภาพดิจิทัล โดยดำเนินการเป็น 3 ส่วน ได้แก่ 1) การทบทวนระบบสุขภาพดิจิทัล ผลการศึกษา พบว่า รูปแบบการอภิบาลสุขภาพดิจิทัลที่ดีจะต้องมีการอภิบาลแบบมีส่วนร่วม มีผู้นำที่เข้มแข็ง มีอำนาจการตัดสินใจ และอยู่ในวาระต่อเนื่อง มีหน่วยงานกลางที่ทำหน้าที่ขับเคลื่อนการพัฒนาระบบสุขภาพดิจิทัลและให้ความสำคัญกับการมีมาตรฐานระบบข้อมูลสุขภาพ โดยมีแบบอย่างที่ดีของออสเตรเลีย อังกฤษ ฟินแลนด์ และอินเดีย 2) การพัฒนาเครื่องมือต้นแบบของระบบข้อมูลสุขภาพส่วนบุคคล มีการบูรณาการข้อมูลสุขภาพส่วนบุคคลจากหลายแหล่งฐานข้อมูล มีการเชื่อมโยงข้อมูลอัตโนมัติโดยตรงจากโรงพยาบาลเข้าสู่ส่วนกลาง สามารถแสดงข้อมูลสุขภาพผ่านโมบายแอปพลิเคชัน มีการเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างโรงพยาบาล เพื่อใช้ประกอบการรักษาพยาบาล และ 3) สังเคราะห์ข้อเสนอแนะ ปรับการบริหารจัดการข้อมูลเป็นแบบ Silo Base ให้เป็นแบบ Authority Base เพื่อการกำกับดูแลที่ดีอย่างยั่งยืน จึงมีข้อเสนอเพื่อพัฒนาใน 5 พันธกิจ และจำเป็นต้องมีหน่วยงานที่มีอำนาจหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับระบบสุขภาพดิจิทัลโดยตรง โดยมีข้อเสนอแผนปฏิบัติการจัดตั้งองค์กรกลางด้านระบบสุขภาพดิจิทัล (National Digital Health Authority)th_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectการบริหารสาธารณสุขth_TH
dc.subjectPublic Health Administrationth_TH
dc.subjectHealth Policyth_TH
dc.subjectนโยบายสาธารณสุขth_TH
dc.subjectระบบฐานข้อมูลth_TH
dc.subjectDatabase Systemsth_TH
dc.subjectสารสนเทศทางการแพทย์th_TH
dc.subjectHealth Information Systemsth_TH
dc.subjectMedical Informationsth_TH
dc.subjectMedical Informaticsth_TH
dc.subjectเทคโนโลยีสารสนเทศด้านสุขภาพth_TH
dc.subjectโปรแกรมประยุกต์th_TH
dc.subjectMachine Learningth_TH
dc.subjectโปรแกรมประยุกต์th_TH
dc.subjectApplication Softwareth_TH
dc.subjectMobile Applicationsth_TH
dc.subjectโทรศัพท์เคลื่อนที่--โปรแกรมประยุกต์th_TH
dc.subjectโรคไม่ติดต่อth_TH
dc.subjectNon-communicable Diseaseth_TH
dc.subjectระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information Systems)th_TH
dc.subjectผลิตภัณฑ์ วัคซีน และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Medical Products, Vaccines and Technologies)th_TH
dc.subjectภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance)th_TH
dc.titleการสังเคราะห์ข้อเสนอแพลตฟอร์มสุขภาพดิจิทัลตามนโยบายปฏิรูปประเทศด้านสาธารณสุขในเขตสุขภาพนำร่อง ประเด็นโรคติดเชื้ออุบัติใหม่และโรคไม่ติดต่อth_TH
dc.title.alternativeProposal for a Digital Health Platform Synthesis Project in Pilot Health Regions Based on National Public Health Reform Policy: Addressing Emerging Infectious Diseases and Noncommunicable Diseases (NCDs)th_TH
dc.typeTechnical Reportth_TH
dc.description.abstractalternativeThere are many health information systems in Thailand and various project indicators. Many of them are redundant and unable to integrate both the reporting system and the medical expense reimbursement. has not yet been fully utilized This study is an analytical study. To study and find a suitable management model and approach for the whole ecosystem that affects the drive of the digital health system. It was carried out in three parts: 1) digital health system review; The study found a digital health governance model requires collaborative governance. have a strong leadership, has authority and constantly in position There is a central agency that drives the development of digital health systems. and to focus on the standardization of the health data system There are good examples of Australia, England, Finland, and India. 2) Developed prototype tools of personal health information system; Personal health data from multiple database sources is integrated and automatically linked directly from the hospital to the central, can display health information through mobile applications and link between hospitals to use in medical treatment and 3) synthesize recommendations; to reform data management from Silo Base to Authority Base for sustainable. Therefore, there are proposals in 5 mission and it is necessary to have an agency directly responsible for the digital health system. There is a proposal for an action plan to establish National Digital Health Authority.th_TH
dc.identifier.callnoWA540.JT3 อ166ก 2565
dc.identifier.contactno64-186
dc.subject.keywordระบบข้อมูลth_TH
dc.subject.keywordระบบข้อมูลสุขภาพth_TH
dc.subject.keywordมาตรฐานข้อมูลสุขภาพth_TH
dc.subject.keywordระบบสารสนเทศสุขภาพth_TH
dc.subject.keywordDigital Health Platformth_TH
dc.subject.keywordNCDsth_TH
dc.subject.keywordโรคไม่ติดต่อเรื้อรังth_TH
.custom.citationอนันต์ กนกศิลป์, Anant Kanoksilp, บุญชัย กิจสนาโยธิน, Boonchai Kijsanayotin, กนกวรรณ มาป้อง, Kanokwan Mapong, รุ่งนิภา อมาตยคง and Roongnipa Amattayakong. "การสังเคราะห์ข้อเสนอแพลตฟอร์มสุขภาพดิจิทัลตามนโยบายปฏิรูปประเทศด้านสาธารณสุขในเขตสุขภาพนำร่อง ประเด็นโรคติดเชื้ออุบัติใหม่และโรคไม่ติดต่อ." 2565. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5843">http://hdl.handle.net/11228/5843</a>.
.custom.total_download60
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year30
.custom.downloaded_fiscal_year4

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hs2949.pdf
ขนาด: 30.41Mb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย