Show simple item record

Impact of COVID-19 Pandemic and Occupational Therapy Telehealth in the “New Normal” Situation

dc.contributor.authorมะลิวัลย์ เรือนคำth_TH
dc.contributor.authorMaliwan Rueankamth_TH
dc.contributor.authorวัฒนารี อัมมวรรธน์th_TH
dc.contributor.authorWatthanaree Ammawatth_TH
dc.contributor.authorศุภลักษณ์ เข็มทองth_TH
dc.contributor.authorSupalak Khemthongth_TH
dc.contributor.authorพรเพ็ญ ศิริสัตยะวงศ์th_TH
dc.contributor.authorPornpen Sirisatayawongth_TH
dc.contributor.authorพรทิพย์พา ธิมายอมth_TH
dc.contributor.authorPornthippa Thimayomth_TH
dc.date.accessioned2023-03-29T08:29:06Z
dc.date.available2023-03-29T08:29:06Z
dc.date.issued2566-03
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 17,1 (ม.ค. - มี.ค. 2566) : 128-148th_TH
dc.identifier.issn2672-9415
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/5847
dc.description.abstractงานวิจัยแบบผสมผสานครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบของการแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนาต่อรูปแบบการให้บริการกิจกรรมบำบัดในประเทศไทยและความเป็นไปได้ในการนำรูปแบบจากต่างประเทศมาใช้ในบริบทสังคมไทย โดยสำรวจความคิดเห็นจากนักกิจกรรมบำบัดผ่านแบบสอบถาม จำนวน 153 คน และสนทนากลุ่ม จำนวน 45 คน ผลการศึกษาพบว่า มาตรการล็อกดาวน์และจำนวนผู้ป่วยโรคโควิดที่เพิ่มขึ้นส่งผลให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพถูกจัดเป็นงานบริการที่ไม่เร่งด่วน ผู้ป่วยถูกงดหรือเลื่อนนัดเป็นระยะเวลานาน บั่นทอนความสามารถในการทำกิจกรรมชีวิตประจำวัน งานบริการกิจกรรมบำบัดในช่วงโควิดจึงถูกปรับให้มี 3 รูปแบบหลัก ได้แก่ บริการในหน่วยงาน บริการทางไกลและบริการแบบผสมผสาน นักกิจกรรมบำบัดมีการปรับรูปแบบให้ตอบสนองต่อความต้องการและความจำเป็นด้านสุขภาพของผู้ป่วย ได้แก่ การฝึกทักษะการใช้กล้ามเนื้อใบหน้าและช่องปาก การวัดผลลัพธ์และติดตามผลการรักษาอย่างต่อเนื่อง การให้คำปรึกษาและโปรแกรมกลับไปฝึกที่บ้าน การคัดกรองซักประวัติประเมินความสามารถผ่านทางโทรศัพท์และแอปพลิเคชันไลน์ การส่งสื่อการสอนหรือประยุกต์ใช้อุปกรณ์ให้เหมาะสมกับบริบทที่บ้าน ทำกิจกรรมกลุ่มแบบผสมผสาน การพัฒนาสื่อวีดิทัศน์ให้ความรู้ผ่านสื่อสังคมออนไลน์ อย่างไรก็ตาม กิจกรรมบำบัดทางไกลยังคงเป็นสิ่งที่ท้าทายในเรื่องประสิทธิภาพ ข้อเสนอเชิงนโยบาย ได้แก่ จัดทำแนวปฏิบัติการให้บริการกิจกรรมบำบัดทางไกลที่มีประสิทธิผล มีประสิทธิภาพและมีความคุ้มค่า จัดอบรมเพื่อเพิ่มพูนทักษะให้นักกิจกรรมบำบัดและรัฐควรสนับสนุนโครงสร้างพื้นฐานเพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการกิจกรรมบำบัดอย่างทั่วถึงth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectTelehealthth_TH
dc.subjectTelemedicineth_TH
dc.subjectการแพทย์ทางไกลth_TH
dc.subjectOccupational Therapyth_TH
dc.subjectกิจกรรมบำบัดth_TH
dc.subjectOccupational Therapiststh_TH
dc.subjectนักกิจกรรมบำบัดth_TH
dc.subjectCOVID-19 (Disease)th_TH
dc.subjectCoronavirusesth_TH
dc.subjectCoronavirus Infectionsth_TH
dc.subjectโควิด-19 (โรค)th_TH
dc.subjectไวรัสโคโรนาth_TH
dc.subjectการติดเชื้อไวรัสโคโรนาth_TH
dc.titleผลกระทบจากการระบาดของโควิด-19 และรูปแบบการให้บริการกิจกรรมบำบัดทางไกลในยุคชีวิตวิถีใหม่th_TH
dc.title.alternativeImpact of COVID-19 Pandemic and Occupational Therapy Telehealth in the “New Normal” Situationth_TH
dc.typeArticleth_TH
dc.description.abstractalternativeThis mixed-method study aimed to investigate the impacts of the coronavirus pandemic on occupational therapy (OT) services in Thailand and to explore the feasibility of adapting international service models into the Thai context from OT’s perspective. One hundred fifty-three occupational therapists were asked to complete the questionnaires, and 45 OTs were invited to participate in focus group discussions. The lockdown measures and the increasing number of COVID-19 patients in Thailand meant that rehabilitation services were classified as non-urgent. Many patients endured irregular service for an extended period affecting their recovery and performance. Three types of OT services were developed to deliver services in the “new normal” situation: on-site; telehealth; and hybrid. OTs redesigned the services according to patient demand and need: orofacial motor skill training; outcome measurement and follow up; home program counseling; screening and history taking; functional assessment and telephonic monitoring; Line application; material or equipment delivery to home; social skills group training as a hybrid service; and educational video production. OT telehealth remains a challenge for efficiency implementation. Policy recommendations include developing clinical practice guidelines for efficacious and cost-effective OT telehealth services. Upskilling and reskilling training courses should be available to occupation therapist. The government should provide telecommunication infrastructure for equal access to OT services to all who need.th_TH
dc.subject.keywordNew Normalth_TH
dc.subject.keywordความปรกติใหม่th_TH
dc.subject.keywordฐานวิถีชีวิตใหม่th_TH
.custom.citationมะลิวัลย์ เรือนคำ, Maliwan Rueankam, วัฒนารี อัมมวรรธน์, Watthanaree Ammawat, ศุภลักษณ์ เข็มทอง, Supalak Khemthong, พรเพ็ญ ศิริสัตยะวงศ์, Pornpen Sirisatayawong, พรทิพย์พา ธิมายอม and Pornthippa Thimayom. "ผลกระทบจากการระบาดของโควิด-19 และรูปแบบการให้บริการกิจกรรมบำบัดทางไกลในยุคชีวิตวิถีใหม่." 2566. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5847">http://hdl.handle.net/11228/5847</a>.
.custom.total_download576
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month10
.custom.downloaded_this_year282
.custom.downloaded_fiscal_year26

Fulltext
Icon
Name: hsri-journal-v17n ...
Size: 1.028Mb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

  • Articles [1352]
    บทความวิชาการ

Show simple item record