Show simple item record

Policy Recommendation Synthesis for Nursing Practice Workforce Development: Production, Distribution, and Retention due to COVID-19 Pandemic

dc.contributor.authorอติญาณ์ ศรเกษตรินth_TH
dc.contributor.authorAtiya Sarakshetrinth_TH
dc.contributor.authorทัศนีย์ เกริกกุลธรth_TH
dc.contributor.authorTassanee Krirkgulthornth_TH
dc.contributor.authorสุชาดา นิ้มวัฒนากุลth_TH
dc.contributor.authorSuchada Nimwatanakulth_TH
dc.contributor.authorรุ่งนภา จันทราth_TH
dc.contributor.authorRungnapa Chantrath_TH
dc.contributor.authorสุทธานันท์ กัลกะth_TH
dc.contributor.authorSuthanan Kunlakath_TH
dc.contributor.authorปาณิสรา ส่งวัฒนายุทธth_TH
dc.contributor.authorPanisara Songwatthanayuthth_TH
dc.contributor.authorธัญพร ชื่นกลิ่นth_TH
dc.contributor.authorThunyaporn Chuenklinth_TH
dc.contributor.authorวรวุฒิ แสงทองth_TH
dc.contributor.authorWorawut Saengthongth_TH
dc.contributor.authorสืบตระกูล ตันตลานุกุลth_TH
dc.contributor.authorSeubtrakul Tantalanukulth_TH
dc.date.accessioned2023-03-30T06:22:50Z
dc.date.available2023-03-30T06:22:50Z
dc.date.issued2566-03
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 17,1 (ม.ค. - มี.ค. 2566) : 168-182th_TH
dc.identifier.issn2672-9415
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/5848
dc.description.abstractการวิจัยแบบผสมผสานครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อสังเคราะห์ข้อเสนอเชิงนโยบายในการพัฒนากำลังคนด้านการพยาบาล: การผลิต การกระจายและการธำรงรักษาเพื่อตอบสนองต่อสถานการณ์การระบาดใหญ่ของโควิด-19 เก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างเชิงปริมาณจำนวน 396 คนด้วยแบบสอบถามการธำรงรักษากำลังคนทั้งที่เป็นปัจจุบันและแนวทางที่ต้องการให้เกิดด้านการพยาบาลเพื่อตอบสนองต่อสถานการณ์การระบาดของโรคระบาดใหญ่ (โควิด-19) และข้อมูลเชิงคุณภาพจำนวน 120 คนจากการสัมภาษณ์เชิงลึก ผลการศึกษา 1) ก่อนการระบาด พบการผลิตเป็นไปตามจำนวนที่สถาบันวางไว้ การเรียนการสอนเป็นการเผชิญหน้าในชั้นเรียน การกระจายกำลังคนยังอยู่เฉพาะที่โรงพยาบาลขนาดใหญ่ การธำรงรักษายังไม่เหมาะสมกับภาระงาน 2) ขณะที่มีการระบาด พบการผลิตยังคงเป็นไปตามจำนวนเดิมแต่มีการปรับกิจกรรมการเรียนการสอนให้เหมาะสมกับมาตรการการป้องกันโควิด-19 มีการเรียนออนไลน์และการเรียนในห้องปฏิบัติการพยาบาล มีการกระจายกำลังคนด้านวิชาชีพพยาบาลเพื่อไปใช้ในการดูแลผู้ป่วยทั้งในโรงพยาบาลและโรงพยาบาลสนาม การธำรงรักษามีการจัดสวัสดิการและค่าเสี่ยงภัย 3) หลังการระบาด เสนอว่า แผนการผลิตควรเน้นผลิตพยาบาล ที่ทำหน้าที่ได้หลากหลาย มีทักษะที่จำเป็นต่อสถานการณ์การเปลี่ยนแปลง และควรคัดเลือกผู้เรียนที่มีภูมิลำเนาในท้องถิ่น ให้เข้ามาเรียนเพื่อแก้ปัญหาการขาดแคลนและป้องกันการย้ายกำลังคนออกจากพื้นที่ การกระจายกำลังคนทางการพยาบาลควรกระจายให้ครอบคลุมในระดับปฐมภูมิ ทุติยภูมิและตติยภูมิ และการธำรงรักษาควรมีการบรรจุพยาบาลด้วยค่าตอบแทนที่เหมาะสมกับภาระงานเสี่ยงภัยที่เพิ่มขึ้น และดูแลสวัสดิการต่างๆ 4) ข้อเสนอเชิงนโยบายในการพัฒนากำลังคนด้านการพยาบาล ด้านการผลิตควรวางแผนการผลิตในระยะยาวตามความต้องการที่แท้จริงของระบบบริการสุขภาพของประเทศ ด้านการกระจายควรทบทวนและวางแผนกระจายอัตรากำลังด้านการพยาบาลของสถานบริการสุขภาพอย่างเป็นระบบทั้งในระดับกระทรวง เขตบริการสุขภาพ และสถานบริการสุขภาพทุกระดับให้มีอัตรากำลังอย่างเหมาะสมตามความแตกต่างกันตามบริบทพื้นที่และตามความต้องการบริการของประชาชนและระดับความซับซ้อนของการให้บริการพยาบาล ด้านการธำรงรักษาควรกำหนดแนวทางในการธำรงรักษาพยาบาล พร้อมกับมีมาตรการสร้างขวัญและกำลังใจให้กับพยาบาลth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectกำลังคนด้านสาธารณสุขth_TH
dc.subjectบุคลากรทางการแพทย์th_TH
dc.subjectMedical Personnelth_TH
dc.subjectพยาบาลวิชาชีพth_TH
dc.subjectProfessional Nursesth_TH
dc.subjectพยาบาลth_TH
dc.subjectNursesth_TH
dc.subjectการพยาบาลth_TH
dc.subjectNursingth_TH
dc.subjectCOVID-19 (Disease)th_TH
dc.subjectโควิด-19 (โรค)th_TH
dc.subjectCoronavirusesth_TH
dc.subjectไวรัสโคโรนาth_TH
dc.subjectCoronavirus Infectionsth_TH
dc.subjectการติดเชื้อไวรัสโคโรนาth_TH
dc.subjectการธำรงรักษาth_TH
dc.subjectการธำรงรักษาพนักงานth_TH
dc.titleการสังเคราะห์ข้อเสนอเชิงนโยบายในการพัฒนากำลังคนด้านการพยาบาล: การผลิต การกระจายและการธำรงรักษาเพื่อตอบสนองต่อสถานการณ์การระบาดใหญ่ของโควิด-19th_TH
dc.title.alternativePolicy Recommendation Synthesis for Nursing Practice Workforce Development: Production, Distribution, and Retention due to COVID-19 Pandemicth_TH
dc.typeArticleth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this mixed-method study was to synthesize policy recommendations on nursing workforce development: production, distribution, and retention during the COVID-19 pandemic. The quantitative data were collected from 396 samples through the questionnaire on actual and expected workforce retention operations due to the COVID-19 pandemic. The qualitative data were collected from 120 subjects through in-depth interviews. The findings were as follows: 1) Pre-pandemic situations of production, distribution, and maintenance of nursing workforces relied on the production plans of educational institutions. The teaching style and the distribution of nursing profession were based on big hospital setting, and the maintenance of nursing workforce as a whole was inappropriate to workload. 2) During the pandemics, the production plan did not change. However, a variety of functions and skills needed to deal with changing situations were delivered through on-line and in class to learners to solve the skill shortage problems. The movements of trained nursing workforces to cover high nursing care needs at the primary, secondary and tertiary levels of field hospitals in the community up to the intensive units in hospital. Retention measures were found in various compensation plans appropriate to the increased burdens and risks. 3) Post-pandemic policy proposals for nursing workforce were on the production, distribution, and maintenance. On the production side, long-term production plans should take account of the actual needs of the country’s health service system. In terms of distribution, there should be a review and planning the distribution of nursing staff in health care facilities at the ministry level, regional health systems and health care facilities at all levels systematically to have appropriate number of workforces according to geographical contexts, population health needs and levels of nursing services complexity. In terms of workforce retention, guidelines should be developed for building nurses morale and motivation.th_TH
dc.subject.keywordHealthcare Workersth_TH
.custom.citationอติญาณ์ ศรเกษตริน, Atiya Sarakshetrin, ทัศนีย์ เกริกกุลธร, Tassanee Krirkgulthorn, สุชาดา นิ้มวัฒนากุล, Suchada Nimwatanakul, รุ่งนภา จันทรา, Rungnapa Chantra, สุทธานันท์ กัลกะ, Suthanan Kunlaka, ปาณิสรา ส่งวัฒนายุทธ, Panisara Songwatthanayuth, ธัญพร ชื่นกลิ่น, Thunyaporn Chuenklin, วรวุฒิ แสงทอง, Worawut Saengthong, สืบตระกูล ตันตลานุกุล and Seubtrakul Tantalanukul. "การสังเคราะห์ข้อเสนอเชิงนโยบายในการพัฒนากำลังคนด้านการพยาบาล: การผลิต การกระจายและการธำรงรักษาเพื่อตอบสนองต่อสถานการณ์การระบาดใหญ่ของโควิด-19." 2566. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5848">http://hdl.handle.net/11228/5848</a>.
.custom.total_download1139
.custom.downloaded_today1
.custom.downloaded_this_month26
.custom.downloaded_this_year759
.custom.downloaded_fiscal_year90

Fulltext
Icon
Name: hsri-journal-v17n ...
Size: 301.0Kb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

  • Articles [1352]
    บทความวิชาการ

Show simple item record